วันพุธที่ 12 มีนาคม พ.ศ. 2557

วรรณคีดในแต่ละสมัย ๔/๒


    บทที่ 1

บทนำ

 

แนวคิดที่มาและความสำคัญ

นักประพันธ์ทั้งหลายได้สมัครสมาน ร่วมกันสร้างสรรค์งานวรรณคดีขึ้น ทำให้ ไทยเราไม่เคยว่างเว้นจากวรรณคดีทุกยุคทุกสมัย

คุณธรรมข้อวัตรที่ควรนำไปประพฤติปฏิบัติในชีวิตประจำวัน   การสรรเสริญยอพระเกียรติพระมหากษัตริย์    โดยมีความบันเทิงรื่นเริงใจแทรกอยู่ด้วย

หนังสือวรรณคดีเล่มนี้    มีประโยชน์ต่อคนไทยทุกคน    เพราะวรรณคดีเป็นส่วนสำคัญที่จะแสดงถึงความเป็นไทยได้อย่างซึ่งที่สุด

 เกิดเป็นคนไทยควรรู้จักตัวตนเอง     รู้จักสังคมไทยรู้จักความเป็นไทยและเข้าถึงความเป็นไทย     ทั้งกายและใจ

หวังว่าวรรณคดีไทยแต่ละสมัย     จะเป็นส่วนหนึ่งในการร่วมด้วยช่วยกันสร้างสรรค์สังคมไทยให้เป็นสังคมที่พึงปรารถนามากยิ่งขึ้น   

วัตถุประสงค์          

รายงาน เรื่อง วรรณคดี   มีวัตถุประสงค์ดังนี้

1.             เพื่อให้มีความรู้เกี่ยวกับวรรณคดีไทย

2.             เพื่อใช้เป็นสื่อในการเรียนการสอน

3.             เพื่อทำให้เกิดความสามัคคีในหมู่คณะ

 

 

ระยะเวลาสถานที่การดำเนินงาน

รายงาน เรื่อง วรรณคดีไทย ใช้เวลาในการศึกษาค้นคว้าตั้งแต่  วันที่  23  พฤศจิกายน    ..2556  ถึง   วันที่ 15  เดือน มกราคม พ.  2557

สถานที่การดำเนินงาน   ได้แก่   โรงเรียนตานีวิทยา

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.             มีความรู้เกี่ยวกับวรรณคดีไทย

2.             มีสื่อในการเรียนการสอนเพิ่มขึ้น

3.             เกิดความสามัคคีในกลุ่ม

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

                                                                 บทที่ 2

                                                        เอกสารที่เกี่ยวข้อง

รายงาน  เรื่อง วรรณคดีไทย   ผู้จัดทำได้มีการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องดังนี้

1.            หนังสื่อวรรณคดี  สมัยสุโขทัย

2.            หนังสื่อวรรณคดี  สมัยอยุธยา 

3.            หนังสื่อวรรณคดี  สมัยกรุงธนบุรี 

4.            หนังสื่อวรรณคดี  สมัยกรุงรัตนโกสินทร์

วรรณคดีสมัยสุโขทัย

ไทยเรามีวรรณคดีช้านาน โดยเฉพาะนิทานเพลงพื้นบ้านแต่ไม่มีการบันทึกไว้เป็นหลักฐานอาศัยการเล่าสืบต่อกัน ที่เรียกว่าวรรณคดี มุขปาฐะ เราจึงรุ่มรวยด้วยวรรณคดี  มาถึงมาสมัยสุโขทัยจึงมีการบันทึกไว้เป็นลายลักษณ์อักษรเป็นครั้งแรก

 ลักษณะของวรรณคดีไทยสมัยสุโขทัย ส่วนใหญ่มีเนื้อหาสาระเกี่ยวกับบ้านเมือง การปกครอง     การสรรเสริญความกล้าหาญสามารถความดีงามของกษัตริย์     ศาสนา     ศิลธรรม     วัฒนธรรม     และวิถีชีวิตของชาวบ้านเป็นสำคัญ

     วรรณคดี  สมัยสุโขทัย   มีดังต่อไปนี้

1.             ศิลาจารึกสมัยกรุงสุโขทัย

2.             ไตรภูมิพระร่วง

3.             สุภาษิตพระร่วง

4.             นางนพมาศ

5.             มังรายศาสตร์

 

 

     ตัวอย่าง  วรรณคดีสมัยสุโขทัย   เรื่อง  นางนพมาศ

  นางนพมาศ     มีอีกชื่อหนึ่งว่า   เรวดีนพมาศ     อีกชื่อหนึ่งที่รู้จักกันดีคือตำรับท้าวศรีจุฬาลักษณ์     เป็นวรรณกรรมสมัยสุโขทัยที่ยังมีปัญหาให้ถกเถียงว่าแต่งในสมัยใดกันแน่  บ้างก็ว่าคงแต่งในสมัยรัตนโกสินทร์     เพราะมีเหตุการณ์และข้อเท็จจริงบางประการที่บ่งบอกว่าไม่ใช่อยู่ในสมัยสุโขทัย    หรือไม่มีในสมัยสุโขทัย     ทั้งนี้เพราะมีเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในสมัยสุโขทัย     มีเค้าความคิดและถ้อยคำสมัยสุโขทัยอยู่ด้วย

ผู้แต่งนางนพมาศ   เป็นผู้แต่งวรรณกรรมเรื่องนางนพมาศ  เป็นธิดาของพระศรีมโหสถและนางเรวดีหญิงที่มีรูปร่างงามล่ำ   มีคุณธรรมความดีล่ำเลิศ     เพราะได้รับการอบรมจากบิดาคือพระศรีมโหสถเป็นอย่างดี

  ทำนองผู้แต่ง แต่งเป็นร้อยแก้ว บางตอนมีร้อยกรองแทรกอยู่ด้วย

                    วัตถุประสงค์ในการแต่ง เพื่อให้คำแนะนำตักเตือนแก่ข้าราชการสำนักฝ่ายในในการปฏิบัติตนให้เหมาะสมให้มีกิริยามารยาทที่ดีงามและเป็นการสรรเสริญพระมหากษัตริย์

                    สาระสำคัญ  เนื้อหาของเรื่องนางนพมาศ มีเนื้อเรื่องเป็นอันเดียวกันหมดตอนต้นกล่าวถึงนางนพมาศ  ชาติ  ภาษาต่างๆ  ข้อควรปฏิบัติของสตรี ประเพณีต่างๆในสมัยสุโขทัยและสั่งสอนถึงข้อควรประพฤติปฏิบัติของข้าราชการฝ่ายในเช่น

1.             ข้อปฏิบัติของนางนพมาศ

                    พึงให้ทราบว่า  ข้าน้อยนางนพมาศ  กระทำกิจในสมเด็จพระร่วงเจ้ากรุงพระมหานครกรุงสุโขทัยเป็นสตรีนักปราชญ์ในวิชาช่างอยู่ชั่วกัลปาวสาร”

2.             ข้อปฏิบัติของข้าราชการฝ่ายใน

  อย่าทำรีๆ ขวางๆ ให้เขาว่า   อย่าทำเซ่อๆ ซ่าๆ ให้ท่านหัว  อย่าประพฤติตัวเก้อๆ ขวยๆ  ให้คนล้อ  อย่าทำลับๆ ล้อๆ  ให้เขาถาก  อย่าทำโปกๆ ปากๆ ให้ท่านว่ากิริยาชั่ว 

จงแต่งตัวให้งามต้องตาคน/จะประพฤติตนให้ต้องใจท่านทั้งหลาย  จงฝากตัวมูลนายให้กรุณา

 จงระวังเวลาราชการ

3.             การประดิษฐ์โคมในพระราชพิธีจอมเปรียง

             ข้าพระองค์สำคัญใจคิดเห็นว่า     เป็นนักขัตฤกษ์วันเพ็ญเดือนสิบสอง

                พระจันทร์แจ่มแสงปราศจากเมฆมลทน     อันว่าดวงดอกชาติโกสุมประทุมมาลย์

มีแต่เบ่งบานกลีบรับแสงอาทิตย์     ถ้าชาติอุบลเหล่าใดบานผกาเกสรรับแสง

พระจันทร์แล้วก็ได้ชื่อว่า     ดอกกระมุท     ข้าพระองค์จึงทำโคมลอยเป็นรูปดอก

กระมุทซึ่งบังเกิดมีอยู่ยังนัมมทานที     อันเป็นที่พระบวรพุทธบาทประดิษฐาน”

              วรรณกรรม เรื่องนางนพมาศมีคุณค่ามหาศาลอยู่หลายประการ   เช่น

 1. ในด้านสังคม  ได้เล่าถึงชีวิตความเป็นอยู่ของขนขาวสุโขทัยในสมัยพระยาลิไทย

2. ในด้านวัฒนธรรมประเพณี  กล่าวถึงการประพฤติปฏิบัติการวางตนของสตรี ประเพณีของข้าราชสำฝ่ายใน

 3. ในด้านอักษรศาสตร์  สำนวนภาษาอ่านง่ายไพเราะ

 4. ในด้านการช่างศิลปกรรม โดยเฉพาะการประดิษฐ์โคมในการลอยประทีป การจัดพานพระ การจัดขันหมาก    เป็นต้น

5.  ในด้านประวัติศาสตร์  ให้ความรู้เกี่ยวกับประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัยโดยเฉพาะสมัยของพระยาลิไทย     และประวัติของนางนพมาศ

6. ในด้านโบราณคดี ให้ความรู้เกี่ยวกับพระราชพิธีต่างๆ

วรรณคดีสมัยกรุงศรีอยุธยา

 กรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานีของไทยแต่โบราณ  ถัดจากกรุงสุโขทัยโดยเป็นราชธานีอยู่ประมาณ  417  ปี  นับว่าไม่น้อยเลยทีเดียว มีพระราชวงศ์ที่ผลัดกันปกครองประเทศ 5 พระราชวงศ์ด้วยกันคือ

1.             พระราชวงศ์อู่ทอง

2.             พระราชวงศ์สุพรรณภูมิ

3.             พระราชวงศ์สุโขทัย

4.             พระราชวงศ์ปราสาททอง

5.             พระราชวงศ์บ้านพลูหลวง

กรุงศรีอยุธยามีพระมหากษัตริย์ที่ปกครองประเทศ  33  พระองศ์  แต่ตามหลักฐานปรากฏว่ามีพระมหากษัตริย์เพียง 6 พระองศ์เท่านั้นทีได้ทรงสร้างสรรค์และส่งเสริมวรรณคดี

วรรณคดี  สมัยกรุงศรีอยุธยา     มีดังต่อไปนี้

วรรณคดีสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนต้น

-                   ลิลิตโองการแช่งน้ำ

-                   ลิลิตยวนพ่าย

-                   มหาชาติคำหลวง

-                   ลิลตพระลอ

-                   โคลงหริภุญไทย

-                   โฑคลงกวาทศมาส

 วรรณคดีสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนกลาง

-                   กาพย์มหาชาติ

-                   สมทรโฆษคำฉันท์

-                   โคลงพาลีสอนท้อง

-                   โคลงทศรถสอนพระราม

-                   เพลงยาวพยากรกรุงศรีอยุธยา

-                   เสือโคคำฉันท์

-                   จินดามณี

-                   พงศาวดากรุงศรีอยุธยา

-                   อนิรุทธคำฉันท์

-                   โคลงกำสรวลศรีปราชญ์

-                   โคลงเบ็ดเตล็ด

-                   กาพย์ห่อโคลง

-                   โคลงเฉลิยมพระเกียรติสมเด็จพระนารายณ์

-                   โคลงราชสวัสดิ์

-                   โคลงอักษรสามหมู่

-                   โคลงนิราศนครสวรรน์

วรรณคดีสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย

-                   โคลงชะลอพระพุทธไลยาสน์

-                   โคลงนิราศเจ้าฟ้าอภัย

-                   นันโทปนันทสูตรคำหลวง

-                   พระมาลัยคำหลวง

-                   กาพย์เห่เรือ

-                   กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง

-                   กาพย์ห่อโคลงนิราศ

-                   เพลงยาว

-                   ดาหลัง ( อิเหนาใหญ่ )

-                   อิเหนา ( อิเหนาเล็ก )

-                   บุณโณวาทคำฉันท์

-                   โคลงนิราศพระบาท

-                   กลบทศิริวิบุลกิติ

-                   บทละครนอก

ตัวอย่างวรรณคดีสมัยกรุงศรีอยุธยาเรื่องลิลตโองการแช่งน้ำ

            ลิลิตโองการแช่งน้ำ  แต่งขึ้นในรัชสมัยสมเด็จพระเจ้าอยู่ทอง  ต้นฉบับเดิมเป็นอักษรขอมเป็นวรรณคดีที่อิงความเชื่อทางไสยสาสตร์มีแต่งเติมเสริมต่อกันมาเรื่อยตั้งแต่สมัยอยุธยา  แม้ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ก็มีการต่อเติมกันในรัชกาลที่ 4

                ผู้แต่ง  ตามหลักฐานม่ปรากฏนานผู้แต่ง  แต่ตามที่มีการสันนิษฐานกันน่าจะเป็นพราหมณ์ผู้รอบรู้และเป็นผู้ประกอบพิธีถือน้ำพระพัฒน์สัตยา

                ทำนองแต่ง  แต่งเป็นลิลิตกล่าวคือมีร่ายโบราณ  ต่อด้วยโลงห้าหรือโคลงมณฆกคติ

                วัตถุประสงค์ในการแต่ง  เพื่อใช้ในพิธีถือพระพินัฒน์สัตยา  ( สาบาน )

                สาระสำคัญ  เพื่อหาเริ่มแรกเพือ่การกล่าวถึงพระนารายณ์  พระอิศวรและพระพรหมซึ่งเป็นเทพเจ้าของอินเดียอย่างยกย่อง  ต่อไปกล่าวถึงเมือ่โลกอายสิ้นกัปกัลป์  ก็จะมีไฟมาไหม้เผาโลกให้หมดสิ้นไป  พระพรหมจะสร้างโลกขึ้นมาใหม่แทนโลกเก่า  สิ่งมีชีวิตอย่างมนุษย์เกิดขึ้นมา  เกิดดวงจันทร์ดวงอาทิตย์มีวัน เดือน ปี ตามมา มีพระราชาซึ่งแปลว่าผุ้ยังความคิดชอบใจพอใจให้เกิดขึ้นมีอัญเชิญป่เจ้า เชือว่าพระกรรมพดีให้มาร่วมพิธี  อาราธนาพระพุทธ  พระธรรม พระสงฆ์ มาร่วมในพิธีเชื่อเชิญเทวดา  อสูร  ผี  ไปจนถึงสัตว์มาร่วมในพิธีแล้วให้ร่วมกันเป็นพยานในการลงโทษ  คนทรยศหักหลังทำการกบฏต่อพระมหากษัตริย์


ตัวอย่างสำนานภาษาที่เป็นคำสาปแช่งผู้คิดคด

                                ฟ้ากระแฉ่นเรือนผยองช่วยดู

                                เอาธงบนหมอกหว้าย

                                เจ้าผาดำสามเส้าช่วยดู

                                แสนผีพึงยอมท้าว ฯ

คุณค้าของลิลิตในการแช่งน้ำ

1.                ในด้านอักษรศาสตร์  ถือเป็นลิลิตเรื่องแรกในวรรณคดีไทย

2.                ในด้านวัฒนธรรม  แสดงถึงอิทธิพลของวัฒนธรรมอินเดียที่มีต่อสังคมไทยอย่างมากมาย

3.                ในด้านการปกครอง  การที่ต้องให้คำสัตย์สาบานจะต้องซื่อตรงจงรักพักดีต่อพระมหากษัตริย์ทำให้เกิดความสามัคคีในชาติ

 

 

วรรณคดีสมัยกรุงธนบุรี

                วรรณคดีสมัยกรุงธนบุรีดีรับอิทธิพลมาจากวรรณคดีสมัยกรุงศรีอยุธยามาพอสมควรเพราะกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี  มาอย่างนานถึง 417 ตลอดระยะเวลานั้นถึงแม้จะมีความฝันผวนทางการเมืองการปกครองสูงแต่มีพระมหากษัตริย์อัจฉริยะเกิดขึ้นหลายพระองค์  ถึงกับมียุคของทองของวรรณคดีในสมัยอยูธยาตอนกลาง  ค่านิยมในการแต่งวรรณคดีสมัยกรุงธนบุรีก็คล้ายคลึงกับสมัยอยุธยาคือ เป็นเรื่องของความเชื่อในทางพระพุทธศาสนาเป็นพื้น

                วรรณคดีสมัยกรุงธนบุรีมีดังนี้

-                   บทละครเรื่อง รามเกียรติ์  ซึ่งมี 4 ตอน

-                   ลิลิตเพชรมงกุฎ

-                   อิเหนาคำฉันท์

-                   โคลงยอพระเกีตรติพระเจากรุงธนบุรี

-                   กฤษณาสอนน้องคำฉันท์

-                   นิราศกวางตุ้ง

-                   เพลงยาว

ตัวอย่างวรรณคดีสมัยกรุงธนบุรีเรื่อง เพลงยาว

                เพลงยาวนี้เป็นบทกวีที่มีฝีปากในการกวีอย่างดีทีเดียว

                ผู้แต่ง พยามหานุภาพ

                ทำนองแต่ง  แต่งเป็นกลอนเพลงยาว

                วัตถุประสงค์ในการแต่ง  เพื่อใช้เป็นสุภาษิตสอนหญิง

                สาระสำคัญ  เป็นเรื่องเกี่ยวกับความรักที่สตรีควรจะมีศิลปะในการครองรัก ชีวิตคู่จะได้มีความสุข

 

 

 

ตัวอย่าง

                จะริรักก็ให้รักโดยสุจริต

                หวังร่วมชีวิตกันจนวายชีวาสัญ

                ร่วมสุขร่วมทุกข์สิ่งอัน

                เออเช่นนั้นจึงจะรักมีเสียแรง

คุณค่าของเพลงยาว

1.             ด้านวรรณคดี  สำนวณโวหารมีไพเราะพอควร

2.             ในด้านคติธรรม  ช่วยให้คติธรรมคำสั่งสอนกับสตรีในด้านความรัก

วรรณคดีสมัยกรุงรัตนโกสินทร์  ช่วงรัชกาลที่ 4

-                   บทละครเรื่องรามกียรติ์  ตอนพระรามเศิบดง

-                   ประกาศและพระบรมราชาธิบาย

-                   อิสเริญาณภาษิต

-                   จดทวายเทตุราชทูตไทยไปลอนดอน

-                   นิราศลอนดอน

-                   นิราศพระปฐม

-                   นิราศทราวารดี

-                   นิราศปกวี

-                   นิราศกรุงเก่า

-                   นิราศพระพิพิธสาลีไปชุมพรละไชยา

-                   อุเทนคำฉันท์

-                   สุธนคำฉันท์

-                   สุธนูคำฉันท์

 

 

วรรณคดีสมัยกรุงรัตนโกสินทร์  ช่วงรัชกาลที่ 5

-                    พระราชพิธีสิบสองเดือน

-                    ลิลิตนิทราชาคริต

-                    ไกลบ้าน

-                    ประชุมโคลงสุภาษิต

-                    บทละครเครียงวงค์เทวราช

-                    บทละครเรื่องเงาะป่า

-                    โคลงอธิบายภาพรามเกีตรติ์

-                    กาพย์เห่เรือ

-                    พระราชาวิจารณ์

-                    แบบเรียนภาษาไทย

-                    คำฉันท์กล่อมช้าง

-                    คำนมัสการคุณานุภกุณ

-                    พรรณพฤกษาและสัตวาภิธาน

-                    ตุลวิกากพจนกิจ และศิริพวนภาค

-                    ลิลิตสรรเสริญพระบารมี

-                    สนุกพีนึก

-                    สยามประเภท

-                    เวพิสวาพิธคำฉันท์

-                    ประชุมจำนำ

-                    กฎหกคำฉันท์

-                    บทละครเรื่องราวสาวเครือฟ้า

-                    ลิลิตตำนานพระแท่นผนังศิลาบาต

-                    บทละครเรื่องพระลอ

-                    คำเริงสกุดีสตรีไทยนักรบ

-                    ลิลิตตามหากุฏราชคุณานุสรณ์

-                    รุไบบาตร

-                    นิราศไทรโยค

-                    นิราศนราชิป

-                    สร้อยคอที่หาย

-                    บทละครศึกดำบรรพ์

-                    สาส์นสมเด็จ

-                    กาพย์เห่เรือ

-                    ร่ายยาวทำเวสสันดรชาดก

วรรณคดีสมัยกรุงรัตนโกสินทร์  ช่วงรัชกาลที่ 6

-                    บทละครพูดเรื่องหัวใจนักรบ

-                    พระพลคำหลวง

-                    ปลุกใจเสือป่า

-                    มัลทะพาลา

-                    โคลนติกล้อ

-                    ศกุนตลา

-                    ตามใจท่าน

-                    โจเมโอ จูเลียต

-                    เวนิสวานิช

-                    ลาวิดารี

-                    วิวาห์พระสุมทร

-                    ความทรงจำ

-                    นิทานโบราณคดี

-                    เสด็จประพาสต้น

-                    นิราศดรวัด

-                    ไทยรบพม่า

-                    พลเมืองดี

-                    สมบัติผู้ดี

-                    จรรยาแพทย์

-                    ความพยาบาท

-                    พระพลคำฉันท์

-                    สามกรุง

-                    จดหมายจางวางหร่ำ

-                    นิทานเวตาล

-                    กนกนคร

-                    โคลงกลอนของคร

-                    เทพ

-                    สยามไวยากรณ์

-                    สงครามมหาภารตะคำกลอน

-                    อิลราชคำฉันท์

-                    กามนิตหรือวาสิฏฐี

-                    หิโตปเทศ

-                    ทศพมนตรี

-                    สมญาภิธานรามเกียรติ์

-                    สามัคคีเภทคำฉันท์

-                    กวีนิพนธ์บางเรื่อง

ตัวอย่างวรรณคดีไทย สมัยกรุงรัตนโกสินทร์

                วรรณคดีสมัยราชกาลที่ 4 เป็นวรรณคดีที่ได้รับอิทธิพลจากตะวันตกมากคุณค่าของวรรณคดีเริ่มมีรากาเป็นทองวรรณคดีร้อยแก้วก้าวขึ้นมาที่บทบาทมาก กวีและวรรณคดีที่สำคัญในราชกาลที่ 4 มีดังต่อไปนี้

-                    พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

-                    หม่อมเจ้าอิศริญาณ

-                    หม่อมราโชทัย

-                    หลวงจักรปาณี  ( มหาฤกษ์ )

-                    พระยาอิศรานุภาพ อ้น

ตัวอย่างวรรณคดีไทยเรื่อง กรุงรัตนโกสินทร์  เรื่อง อิศริญาณภาษิต อิศริญาณภาษิต บางทีก็ถูกเรียกว่า เพลงยาวเจ้าอิศริญาณ เป็นกวีที่แต่งขึ้นเพื่อนเป็นการประชดประชันอันเนื่องมาจากความร้อนใจ

                ผู้แต่ง  หม่อมเจ้าอิศริญาณ

                ทำนอง  แต่งเป็นกลอนเพลงยาว

                วัตถุประสงค์ในการแต่ง เพื่อระบบความรุ้สึกน้อยใจออกมาและเพิ่มแสดงความสามรถของตนว่ามีความในทางกวีเหมือนตัวอย่าง

                                ชายข้าวเปลือกหญิงข้าวสารโบราณว่า            น้ำพึ่งเรือเสือพึ่งป่าอัชฌาลัย

                เราก็จิตคิดดูเล่าเขาก็ใจ                                                        รักกันไว้ดีกว่าชังระวังการ

                ผู้ใดดีดีต่ออย่างก่อกิจ                                                          ผู้ใดผิดผ่อนพักอย่างหักหาญ

                สิบดีก็ไม่ถึงกับกึ่งพาล                                                        เน้นชายชาญอย่าเพ่อภากประมาณ

                รักสั่นนั้นใสรุ้อยุ่เพียงสั้น                                                  รักยาวนั้นอย่าให้เยิ่นเกินถ้ำ

                มิใช่กายทก่างเขาก็ตาย                                                       แทนงถุฟ้าอย่าให้อายแด่เทวดา

                อย่าดูถูกบุญกรรมว่าทำน้อย                                              น้ำกาย์อนมากเมื่อไรได้

                อย่านอนเปล่าเอากระจกยกออกมา                                  ส่องดูหน้าเสียทีหนึ่งกลัวจึงนอน

เห็นตอหลักปักขว้างทนทางอยู่                                        พิเคราะห์ดูคราพึ่งกลัวจึงนอน

เห็นเต็มตากลัวอย่าอยากทำปากนอน                              การองเสียก่อนจึงค่อยทำกรรม

คุณค่าของเรื่องอิศริญาณภาษิต

-                   ในด้านอักษรศาสตร์

-                   ในด้านคติธรรมคำสอน

 

 

บทที่ 3

วิธีการดำเนินงาน

ขั้นตอนการดำเนินงาน

1.             ผู้ศึกษานำเสนอหัวข้อโครงงานต่ออาจารย์ที่ปรึกษาเพื่อขอคำแนะนำและกำหนดขอบเขตในการทำโครงงาน

2.             ผู้ศึกษาร่วมกันประชุมวางแผนวิเคราะห์ตามหัวข้อวัตถุประสงค์ของโครงงาน

3.             ผู้ศึกษาร่วมกันกำหนดวรรณคดีหนังสือต่างๆ ดังนี้  หนังสือวรรณคดีสมัยสุโขทัย  หนังสือวรรณคดีสมัยกรุงศรีอยุธยา  หนังสือวรรณคดีสมัยกรุงธนบุรี  หนังสือวรรณคดีสมัยกรุงรัตนโกสินทร์

4.             ศึกษาและเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นขั้นตอนของการเก็บรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับโครงงานเพื่อมาวิเคราะห์และสรุปเนื้อหาที่สำคัญ

อุปกรณ์และวัสดุอุปกรณ์

1.             หนังสือวรรณคดีสมัยสุโขทัย

2.             หนังสือวรรณคดีสมัยกรุงศรีอยุธยา

3.             หนังสือวรรณคดีสมัยกรุงธนบุรี

4.             หนังสือวรรณคดีสมัยกรุงรัตนโกสินทร์

5.             ปากกา  ดินสอ

6.             กระดาษ

7.             ไม้บรรทัด  ยางลบ

8.             แลคซีล กาว

9.             ฟิวเจอร์บอร์ด

10.      อินเตอร์เน็ต

 

 

บทที่ 4

ผลการศึกษาค้นคว้า

ผลการศึกษาค้นคว้า

            วรรณคดีสมัยสุโขทัย  คือ ส่วนใหญ่มีเนื้อหาสาระเกี่ยวกับบ้านมืองการปกครอง  การสรรเสริญความกล้าหาญสามารถความดีงามของกษัตริย์ ศาสนา  ศลิธรรม  วัฒธรรม  และวิธีชีวิตของชาวบ้านเป็นสำคัญ  ได้แก่  ศิลาจารึกพ่อขุนรามคำแหง  ศิลาจารึกวัดศรีชุม  ศิลาจารึกนครชุม  ศิลาจารึกวัดป่ามะม่วง   ศิลาจารึกวัดป่าแดง

                วรรณคดีสมัยกรุงศรีอยุธยา  คือ กรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานีของไทยแต่โบราณ  ถัดจากกรุงสุโขทัยโดนเป็นราชธาณีอยู่ประมาณ  ๔๑๗  ปี  นับว่าไม่น้อยเลยที่เดียว  มีพระราชวงศ์ที่ผลัดกันปกครองประเทศ ๕  พระราชวงศ์ด้วยกัน

๑.      พระราชวงศ์อู่ทอง

๒.    พระราชวงศ์สุพรรณภูมิ

๓.     พระราชวงศ์สุโขทัย

๔.     พระราชวงศ์ปราสาททอง

๕.     พระราชวงศ์บ้านพลูหลวง

วรรณคดีสมัยกรุงศรีอยุธยา ได้แก่  วรรณคดีสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนต้น   ลิลิตโองการแช่งน้ำ  ลิลิตยวนพ่าย มหาชาติคำหลวง

วรรณคดีสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนกลาง กาพย์มหาชาติ  สมทรโฆษคำฉันท์  โคลงพาลีสอนท้อง  โคลงทศรถสอนพระราม

                วรรณคดีสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย  โคลงชะลอพระพุทธไลยาสน์  โคลงนิราศเจ้าฟ้าอภัย        นันโทปนันทสูตรคำหลวง  พระมาลัยคำหลวง

                วรรณคดีสมัยกรุงธนบุรี  คือ เป็นบทประพันธ์ร้อยกรองทั้งหมด  มีครบทั้งโคลง  ฉันท์  กาพย์  กลอน  ร่าย  เนื้อหาสาระมีหลากหลาย  แต่เน้นเป็นพิเศษก็คือ  สรเสริญพระมหากษัตริย์  ศาสนา  ให้คติธรรม  สั่งสอน  และความบันเทิงใจ

                วรรณคดีสมัยกรุงธนบุรี ได้แก่  บทละคร เรื่องรามเกียรติ์ ซึ่งมี ๔ ตอนคือ

-                   ตอนพระมงกุฎประลองศร

-                   ตอนหนุมานเกี้ยวนางวานริน

-                   ตอนท้าวมาลีวราชว่าความ

-                   ตอนทศกัณฐ์ตั้งพิธีทรายกรด

แต่งโดย  สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช

วรรณคดีสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ คือ ช่วงรัชกาลที่ ๔-- ๖ นับเป็นยุคทองของวรรณคดีอีกยุคหนึ่งดังยุคต้นรัตนโกสินทร์  สมัยรัชกาลที่ ๑ - ๓ นั่นเอง  ว่าที่จริง  สมัยกรุงรัตนโกสินทร์นับเป็นสมัยแห่งความรุ่งเรืองหรือเป็นยุคทองของวรรณคดีตั้งแต่ต้นจนปัจจุบัน  คือสมัยนี้ซึ่งเป็นสมัยรัชกาลที่ ๙  แห่งกรุงรุตนโกสินทร์  เราก็มีวรรณคดีดีๆ  มากมายหลายเล่ม  ที่ได้รับรางวัลซีไร้ท์ก็มีมิใช่น้อย

วรรณคดีสมัยกรุงรัตนโกสินทร์  ช่วงรัชกาลที่ ๔

-                   บทละครเรื่องรามกียรติ์  ตอนพระรามเศิบดง

-                   ประกาศและพระบรมราชาธิบาย

-                   อิศริญาณภาษิต

-                   จดถวายเทตุราชทูตไทยไปลอนดอน

วรรณคดีสมัยกรุงรัตนโกสินทร์  ช่วงรัชกาลที่ 5

-                    พระราชพิธีสิบสองเดือน

-                    ลิลิตนิทราชาคริต

-                    ไกลบ้าน

-                    ประชุมโคลงสุภาษิต

-                    บทละครเครียงวงค์เทวราช

 

 

 

วรรณคดีสมัยกรุงรัตนโกสินทร์  ช่วงรัชกาลที่ 6

-                    บทละครพูดเรื่องหัวใจนักรบ

-                    พระพลคำหลวง

-                    ปลุกใจเสือป่า

-                    มัลทะพาลา

-                    โคลนติกล้อ

-                    ศกุนตลา

-                    ตามใจท่าน

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

บทที่ 5

สรุปผลอภิปรายผลและข้อเสนอแนะ

จากผลสรุปการศึกษาค้นคว้า

                จากการที่คณะผู้จัดทำได้มีความสนใจศึกษาวรรณคดีไทยแต่ล่ะสมัยตามวัตถุประสงค์เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวรรณคดีไทยแต่ล่ะสมัยโดยแบ่งตามลำดับยุคสมัยของวรรณคดีโดยมีหนังสือต่างๆ ได้แก่หนังสือวรรณคดีสมัยสุโขทัย หนังสือวรรณคดีสมัยอยุธยา  หนังสือวรรณคดีสมัยธนบุรี หนังสือวรรณคดี หนังสือวรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร์  ซึ่งพบว่าวรรณคดีไทยเริ่มมีมาตั้งแต่โบราณแล้ว  ลูกหลานได้ใช้ศึกษากันมาปัจจุบันก็ยังมีการนำเอาวิธีชีวิตในวรรณคดีมาใช้ในชีวิตประจำวัน  เพื่อให้ประชาชนประพฤติปฏิบัติมีคุณธรรมและสามารถอยู่ด้วยกันในสังคมอย่างสงบสุข

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

บรรณานุกรม

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

                                                             บรรณานุกรม

กุหลาบ  มัลลิกะมาส, คุณหญิง. ความรู้ทั่วไปทางวรรณคดี. กรุงเทพฯ :  กิ่งจันทร์การพิมพ์,  ๒๕๓๖.

กองวรรณคดีและประวัติศาสตร์  กรมศิลปากร.  วรรณคดีสมัยธนบุรี เล่ม ๒. กรุงเทพมหานคร:    

                ๒๕๓๓.

พรพรรณ  ธารานุมาศ.  วรรณคดีศรีอยุธยา.  กรุงเทพฯ: บริษัท รวมสาส์น (๑๙๗๗) จำกัด, ๒๕๓๗.