วันศุกร์ที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557

คำราชาศัพท์ ม.4/5

คำราชาศัพท์
terms of reverence
โดย
                                นาย ชัยชนะ   ศิริสุข       เลขที่ 15
นาย นัฐพงษ์  แผ่นทอง   เลขที่ 16
                                นาย อดิศักดิ์ สุระศร       เลขที่ 20
 นาย วรพงษ์  ผะกาทอง  เลขที่ 22
                                นาย  อนุชา  ไวว่อง         เลขที่ 26
  นาย จิราพงษ์ นะเชิงรัมย์ เลขที่ 27
ชันมัธยมศึกษาปีที่ 4/5
โรงเรียนตานีวิทยา
สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา  เขต 33
รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาค้นคว้ารายวิชา I 30202
การสื่อสารการนำเสนอ (communication and presentation)
                              ประจำภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556

กิตติกรรมประกาศ
                   รายงานเรื่อง คำราชาศัพท์ terms of reverence  ฉบับนี้ได้รับการสนับสนุนจาก นายสมโภชน์  สุขเจริญ ผู้อำนวยการโรงเรียนตานีวิทยาและ   นาย ชัยชนะ   ศิริสุข       นาย นัฐพงษ์  แผ่นทอง      นาย อดิศักดิ์ สุระศร     นาย วรพงษ์  ผะกาทอง    นาย  อนุชา  ไวว่อง       นาย จิราพงษ์ นะเชิงรัมย์  ผู้จัดทำขอกราบขอบพระคุณท่านมา ญ โอกาสนี้

                     ขอขอบพระคุณ  อาจารย์ ปัณพิชชา  บรรเลง ครูที่ปรึกษา ที่ได้คำแนะนำ ละคอยช่วยเหลือในการจัดทำรายงานจนสำเร็จลุล่วง ละขอขอบพระคุณคณะครูทุกท่าน ที่ให้ความช่วยเหลือและคำแนะนำที่เป็นประโยชน์

                       ขอขอบพระคุณบิดามารดาของคณะผู้จัดทำ ที่ให้การสนับสนุนในการศึกษาเล่าเรียน และคอยเป็นกำลังใจให้เสมอมา
                            

                                                                                                                        คณะผู้จัดทำ

                                    







                                                   บทที่ 1
บทนำ
แนวคิดที่มาและคาวามสำคัญ
            คำราชาศัพท์ หมายถึง คำสุภาพที่ต้องการใช้ให้ถูกต้องตามชั้นของบุคคลซึ่งในภาษาไทยจำแนกบุคคลที่ใช่ราชาศัพท์ออกเป็น 5 ชนิด คือ
1.พระราชา
2.เจ้านาย (หมายถึง พระบรมวงศานุวงศ์ตั้งแต่หม่อมเจ้าขึ้นไป)
3.พระภิกษุสามเณร
      4.ข้าราชการ (ทั้งมียศและไม่มียศ)
5.สุภาพชน(หมายถึงบุคคลทั่วไปนอกลาก 4 ประเภทข้างต้น)
             คำราชาศัพท์ที่ใช่แก่พรบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถบุคลภายนอกย่อมมีโอกาสใช้น้อยถ้าถึงคร่าวจำเป็นจะต้องใช้ต้องไปถามผู้รู้ได้รวบรวมไว้ในหนังสื่อเล่มนี้เก็บเฉพาะคำที่ควรรู้และเรียงตามลำดับอักษรเพื่อค้นหาง่ายดังต่อไปนี้
    วัตถุประสงค์
รายงานเรื่องคำราชาศัพท์ มีวัตถุประสงค์ในการศึกษาค้นคว้าดังนี้
     1.เพื่อมีความรู้คำราชาศัพท์
      2.เพื่อให้ผู้นำไปศึกษาคำราชาศัพท์
     ระยะเวลาและสถานที่ดำเนินการ
              รายงาน เรื่อง คำราชาศัพท์ ใช้ระยะเวลาในการศึกษาค้นคว้าตั้งแต่วันที่ 28 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ.2556 ถึง         วันที่  28 เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557  สถานที่ดำเนินการได้แก่
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ได้รับความรู้ เรื่อง คำราชาศัพท์
2.สามารถนำคำราชาศัพท์ไปใช้ในชีวิตประจำวัน
3.ผู้ศึกษามีความกระตือรือร้นมากยิ่งขึ้น
บทที่ 2
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
รายงานเรื่อง คำราชาศัพท์ ผู้จัดทำได้มีการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้อง ดังนี้ 
1.คู่มือการเตรี่ยมสอบ  O-NET  ภาษาไทย ม.3
2.www.hi-ed.co.th
3.www.google.com

สรรพนามที่ใช้แทนผู้พูดที่พูดด้วย  (บุรุษที่ 1 )
                          คำ
                      ผู้ใช้
                     ใช่กับ
เกล้ากระหม่อม
ผู้ชาย
พระองค์เจ้า
เกล้ากระหม่อมฉัน
ผู้หญิง
พระองค์เจ้า


 
สรรพนามที่ใช้แทนผู้พูดที่พูดด้วย  (บุรุษที่ 2 )
คำ
                      ผู้ใช้
                     ใช่กับ
ใต้ฝ่าละลองชุลีพระบาท
เจ้านายหรือบุคคลทั่วไป
พระราชา,พระราชานี,สมเด็จพระบรมราชะนีนาถ











                                                                                                              
บทที่3
ผลการดำเนินการ
รายงานเรื่องคำราชาศัพท์ผู้จัดทำมีผลการดำเนินการ ดังนี้
ผู้ศึกษาได้เลือกสมาชิกในกลุ่มและให้สมาชิกแต่ละคนเสนอหัวข้อที่จะศึกษาค้นคว้าทำรายงานวิชาการและปรึกษาหารือกันคัดเลือกหัวข้อที่ดีที่สุดเพื่อมาศึกษาค้นคว้า
ผลการดำเดินการ
1.ผู้ศึกษานำเสนอหัวข้อโครงงานต่ออาจารย์ที่ปรึกษาเพื่อขอคำแนะนำและกำหนดขอบเขตในการทำโครงงาน
2.ผู้ศึกษาร่วมกันประชุมงานแผนวิเคราะห์ตามหัวข้อวัตถุประสงค์ของโครงงาน
3.ผู้ศึกษาร่วมกันกำหนดบทประพันธ์วรรณคดีหนังสือต่างๆ
4.ศึกษาและเกินรวบรวมข้อมูลปันขั้นตอนของการเกิบรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับรายงานเพื่อพาวิเคราะห์และสรุปเนื้อ
5.นำเสนอผลงานต่ออาจารย์ที่ปรึกษาเพื่อรายงานผลการดำเนินงาน
6.จัดทำคู่มือเพื่อใช้สำหรับศึกษาและรายงานต่ออารย์ที่ปรึกษา











บทที่4
ผลการดำเนินการ
รายงาน เรื่อง คำราชาศัพท์ มีผลการดำเนินการ  ดังนี้
ผลการดำเนินการ
เขียนผลการดำเนินการ ผลการศึกษา ค้นคว้าตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
คำราชาศัพท์ หมายถึง คำสุภาพที่ต้องใช้ให้ถูกต้องตามชั้นของบุคคลซึ้งในภาษาไทยจำแนกบุคลที่ต้องการใช้คำราชาศัพท์ออกเป็น  ๕  ชนิด คือ
1.พระราชา   2.เจ้านาย   3.พระภิกษุสามเณร  4.ข้าราชกาล   5.สุภาพชน
คำราชาศัพท์ที่ใช้แก่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และ สมเด็จพระนางเจ้าฯ  พระบรมราชินีนาถ บุคคลภายนอก ย่อมมีโอกาสใช้น้อยถ้าถึงคราวจำเป็นจะต้องใช้  ต้องไปถามผู้รู้ได้รวบรวม
1.ได้รับความรู้เรื่องคำราชาศัพท์
2.สามมาถนำคำราชาศัพท์ไปใช้ในชีวิตประจำวัน
3.ผู้ศึกษามีความกระตือรือร้นมากยิ่งขึ้น



วรรณคดีไทยเเต่ละยุคสมัย 4/3

                                 
                                             เรื่อง  วรรณคดีไทยแต่ละยุคสมัย                                  
                                           จัดทำโดย                                           
...ดวงรัก      เห็นทั่ว          เลขที่ ๑๐
     ๒...นารี            ก่อทอง           เลขที่ ๑๒
                                                   ๓...พรทิพย์    พุทธากูล       เลขที่ ๑๕
     ๔...พรธิตา        กำลังมา          เลขที๑๖
        ๕...หทัยทิพย์    เรืองสำราญ    เลขที่ ๒๔
                                                    ๖...สิรินยา        ขบวนกล้า       เลขที่ ๑
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  ๔/๓

โรงเรียนตานีวิทยา
                              สังกัดสำนักเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต ๓๓
   
            รายงานฉบับนี้เป็นสวนหนึ่งของวิชา I ๓๐๒๐๒ การสื่อสารและการนำเสนอ                      (communication and Rresntation)
                                           ประจำภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๖

               
              กิตติกรรมประกาศ
             รายงานเรื่องวรรณคดีไทยแต่ละยุคสมัยฉบับนี้ได้การสนับสนุนจาก นายสมโภชน์  สุขเจริญ ผู้อำนวยการโรงเรียนตานีวิทยา                                 และนางบัณพิชชา บรรเลง                                                                                            
 คณะผู้จัดทำขอกราบขอบพระคุณท่านมา ณ โอกาสนี้
             ขอขอบพระคุณนางบัณพิชชา  บรรเลงครูที่ปรึกษาที่ได้ให้คำแนะนำและคอยช่วยเหลือในการจัดทำรายงาน จนสำเร็จลุล่วง และขอขอบคุณคณะครูทุกท่านที่ให้ความช่วยเหลือและให้คำแนะนำที่เป็นประโยชน์
                ขอขอบคุณบิดามารดาของคณะผู้จัดทำ ที่ให้การสนับสนุนในการศึกษาเล่าเรียน  และคอยเป็นกำลังใจให้เสมอมา
                                                                                     คณะผู้จัดทำ



                                                     คำนำ
     หนังสือภาษาไทยเล่มนี้เป็นเอกลักษณ์ของชาติ เป็นสมบัติทางวัฒนธรรมอันทำให้เกิดเอกภาพและเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารเพื่อสร้างความเข้าใจและความสัมพันธ์อันดีของคนในชาติ  นอกจากนี้ ภาษาไทยยังเป็นเครื่องสำคัญที่ช่วยในการแสวงหาความรู้ทั้งจากในหนังสือและแหล่งข้อมูลสารนเทศต่างๆทั้งนี้คณะผู้ศึกษาจะต้องมีความรู้ความเข้าใจและเลือกสรรใช้ภาษาที่ถูกต้องเพื่อดำรงไว้ซึ่งเป็นเอกภาพของชาติและสามารถนำไปใช้พัฒนาทักษะอาชีพต่างๆเพื่อประโยชน์ของตนเองและสังคม
                                                                                       จัดทำโดย
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔/




                   
                                                     สารบัญ 
                                                                                                      หน้า
      บทที่ ๑                                                              1
   แนวคิดที่มาและความสำคัญ                                        1
   วัตถุประสงค์                                                         1
   ระยะเวลาและสถานที่ดำเนินการ                                           -               
   ผลที่คาดว่าจะได้รับ                                                                     14
บทที่ ๒  เอกสารทีเกี่ยวข้อง                                             2
   สมัยอยุธยา                                                           2
   สมัยสุโขทัย                                                           6
   สมัยกรุงธนบุรี                                                        8
   สมัยกรุงรัตนโกสินทร์                                               10
บทที่ ๓ วิธีการดำเนินการ                                                             13                                                
บทที่ ๔ ผลการดำเนินการ                                            14
บทที ๕ สรุปผล อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ                                15  
   สรุปผล                                                                                      15
   อภิปรายผล                                                         15
   ข้อเสนอแนะ                                                           -
บรรณานุกรม                                                                                17
   ภาคผนวก                                                                                  18







                        บทที่๑
บทนำ
        ที่มาและความสำคัญ
วรรณคดี  หมายถึง  หนังสือที่มีลักษณะเด่นในเชิงประพันธ์เป็น วรรณศิลป์ทีมีคุณค่าทาง  อารมณ์ และความรู้สึกแก่ผู้อ่าน   มีรูปแบบและเนื้อหาผสมผสานกลมกลืนกัน  มีจิตนาการ  สามารถโน้มน้าวให้ผู้อ่านเกิดอารมณ์ สะเทือนใจ  ตลอดจนมีคุณค่าในด้านแนวคิดที่แฝงอยู่ในเรื่อง คณะผู้จัดทำได้แลเห็นคุณค่าของวรรณคดีและมีความสนใจที่จะศึกษา   เพื่อนำมาใช้ในการให้ข้อคิด และแนวปฏิบัติรวมทั้งคติเตือนใจ  คำสั่งสอนให้แก่เยาวชนไทยมีจิตสำนึกที่ดี
        วัตถุประสงค์                              
.เพื่อให้ความบันเทิงใจ ความประทับใจ   แก่ผู้อ่าน
.เพื่อให้รู้ถ้อยคำภาษามากขึ้น รู้สำนวนโวหาร อันจะช่วยให้พูดหรือเขียนด้วยภาษาที่กินความ หรือกระชับสละสลวย ช่วยให้เป็นผู้ใช้ภาษาได้ดี
.เพื่อให้ธำรงรักษามรดกสำคัญของธรรมชาติ และเห็นคุณค่างานประพันธ์ที่บรรพชนถ่ายทอดไว้ ตลอดจนสามารถนำมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้
                             บทที่ ๒
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
รายงานเรื่อง วรรณคดีไทยแต่ละยุคสมัย  ผู้จัดทำได้มีการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้อง
.หนังสือ วรรณคดี สมัยอยุธยา
.หนังสือ วรรณคดี สมัยสุโขทัย
.หนังสือ วรรณคดี สมัยกรุงธนบุรี
.หนังสือ วรรณคดี สมัยกรุงรัตนโกสินทร์
                  สมัยอยุธยา
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนต้น  เนื้อหาส่วนใหญ่เป็นเรื่องของพระศาสนา  ได้แก่ พระพุทธศาสนา และศาสนาพราหมณ์ อีกเรื่องหนึ่งที่มีการกล่าวถึงเป็นสำคัญและเกี่ยวโยงกับพระศาสนาด้วยคือ สถาบันพระมหากษัตริย์ผู้ปกครองเป็นสำคัญ วรรณคดีสมัยนี้มีวรรณคดีบริสุทธิ์เพิ่มขึ้น จะแต่งเป็นลิลิต และเขมรปะปนอยู่มาก ต้องแปลออก เข้าใจความหมาย จึงจะเกิดความซาบซึ้ง
                     วรรณคดีสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนต้น
เช่น  ลิลิตโองการแช่งน้ำ
ตัวอย่างสำนวนภาษาที่เป็นคำสาปแช่งผู้คิดคด
       ฟ้ากระแฉ่นเรือนผยองช่วยดู
เอาธงบนหมอกหว้าย
เจ้าผาดำสามเส้าช่วยดู
แสนผีพึงยอมท้าว ฯ
เจ้าผาดำลาเผือกช่วยดู
หันอย้าวปู่สมิงพราย
เจ้าผาหลวงผากลายช่วยดู
ดีร้ายบอกคำจำ ฯ
ผีพรายผีชรหมื่นดำช่วยดู
กำรูคลื่นเปนเปลว
บซื่อน้ำตัดคอ
ตัดคอเราให้ขาด ฯ ’’
คุณค่าของลิลิตองค์การแช่งน้ำ
.ในด้านอักษรศาสตร์ ถือเป็นลิลิตเรื่องแรกในวรรณคดีไทย
.ในด้านวรรณกรรม แสดงถึงอิทธิพลของวัฒนธรรมอินเดีย ที่มีต่อสังคมไทยอย่างมากมาย
.ในด้านการปกครอง จะต้องซื่อตรงจงรักภักดีต่อพระมหากษัตริย์ทำให้เกิดความสามัคคี
        วรรณคดีสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนกลาง  เมื่อพ้นผ่านวรรณคดีสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนต้น อันเป็นรัชสมัยของสมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๒ มาแล้ว เรื่องราวของวรรณคดีขาดหายไปหลายสิบปี เพราะบ้านเมืองหาความสุขมิได้ มีแต่สงครามไม่ว่างเว้น จนเมื่อถึงรัชสมัยของสมเด็จพระเจ้าทรงธรรม  การวรรณคดีจึงได้รับการเอาใจใส่อีกครั้งหนึ่ง  พระองค์ทรงเป็นนักกวีด้วย ผ่านรัชสมัยของพระเจ้าทรงธรรมบ้านเมืองมีปัญหาอีก เพราะมีการช่วงชิงอำนาจกันระหว่างราชวงศ์ทำให้งานวรรณคดีขาดการสืบสานอีกช่วงหนึ่ง
วรรณคดีสมัยสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนกลาง
เช่น  โคลงทศรถสอนพระราม
ตัวอย่างสำนวนโวหาร
ปกครองอย่างพ่อแม่ลูกแลกัน
       บริรักษ์อาณาจักรทั้ง        แดนไตร
ด้วยจิตสนิทเสน่ห์ใน                ผ่องแผ้ว
ดั่งบิดามารดรใจ                      ใสสุทธ์
รักษาธิดาบุตรแล้ว                   เลิศล้ำใครเสมอ
คุณค่าของโคลงทศรถสอนพระราม
.ในด้านอักษรศาสตร์ มีสำนวนใหม่กว่าหนังสือเรื่องอื่นในยุคเดียวกันโวหารก็พอจะมีความไพเราะ                                                                
วรรณคดีสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย                                  ผ่านพ้นยุคสมัยของสมเด็จพระนารายณ์บ้านเมืองไมมีความสงบสุข  เพราะเกิดการแยงชิงราชสมบัติกัน  ยังเกิดสงครามกับนครศรีธรรมราชและกัมพูชาอีก  ทำงานการวรรณกรรมเกิดความชะงักงันไปถึง ๔๔ปี ตอเมื่อเข้ารัชสมัยของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศนั้นแหละวรรณคดีจึงกลับมารุ่งเรืองอีกครั้งหนึ่ง  แม้จะไม่เทียบเท่ายุคสมัยของสมเด็จพระนารายณ์ แต่ก็ต้องนับว่ารุ่งเรืองทีเดียว  เพราะสมเด็จพระเจ้าอยู่บรมโกศท่าน  เอาพระทัยในการศึกษาของเด็กๆเป็นพิเศษรัชสมัยขององค์ใครจะเข้าทำงานมีความรู้ทั้งนั้นความรู้ในสมัยนั้นต้องครบทั้งสองทางทั้งทางโลกและทางธรรม ดังนั้นผู้คนจึงสนใจเรียนหนังสือกันมาพอสมควรกับสมัยวิชาที่เรียนคือ วิชาสามัญ
วรรณคดีสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย                                         
ตัวอย่างสำนวนโวหาร โคลงนิราศเจ้าฟ้าอภัย                            
 ชมวังวารี
    เห็นวังวาริศร้าง     ริมแคว น้ำนา
พระนครหลวงแล       เปล่าเศร้า
วังราชฤมาแปร          เป็นป่า
เกรงจะแปรใจเจ้า       ห่างแล้วลืมเรียม
คุณค่าของโคลงนิราศเจ้าฟ้าอภัย
. ในด้านอักษรศาสตร์  เป็นโคลงมีสำนวนดี  แต่งได้ไพเราะ
. ในด้านวิถีชีวิต  แสดงถึงความเชื่อในเรื่องการบนบานศาลกล่าวหรือการบวงสรวงเทวดาเพื่อให้เป็นอย่างนั้นอย่างนี้อันเป็นสิ่งที่มีมาทุกยุคทุกสมัย
            
   สมัยสุโขทัย
วรรณคดีสมัยสุโขทัยมีมาช้านาน โดยเฉพาะนิทานกับเพลงพื้นบ้านแต่ไม่มีการบันทึกไว้เป็นหลักฐานอาศัยการเล่าลืบต่อกันมา ทีเรียกว่า วรรณคดีมุขปาฐะเราจึงร่ำรวยด้วยวรรณคดี มาถึงสมัยสุโขทัยจึงมีการบันทึกไว้เป็นลายลักษณ์อักษรเป็นครั้งแรกลักษณะของวรรณคดีไทย  ส่วนใหญ่มีเนื้อหาสาระเกี่ยวกับบ้านเมืองการปกครอง การสรรเสริญความกกล้าหาญสามารถความดีงามของกษัตริย์   ศาสนา ศีลธรรม วัฒนธรรม และวิถีชีวิตของชาวบ้านเป็นสำคัญ
            วรรณคดีของสุโขทัยมี ดังนี้
๑)ศิลาจารึกพ่อขุนรามคำแหง
๒)ศิลาจารึกวัดศรีชุม
๓)ศิลาจารึกนครชุม
๔)ศิลาจารึกวัดป่ามะม่วง
๕)ศิลาจารึกวัดป่าแดง
๖)ศิลาจารึก จ..๗๖๖
๗)ศิลาจารึกวัดเขากบ เมืองปากน้ำโพ จังหวัดนครสวรรค์
๘)จารึกรอยพระยุคลบาล วัดบวรนิเวศวิหาร กรุงเทพ
๙)จารึกรอยพระยุคลบาล วัดบวรนิเวศวิหาร
๑๐)ศิลาจารึกวัดเขมา
๑๑)ศิลาจารึกวัดเสด็จ
๑๒)ศิลาจารึกดงแม่นางเมือง
๑๓)ศิลาจารึกกฎหมายลักษณะโจร
๑๔)ศิลาจารึกเจดีย์น้อย วัดพระมหาธาตุ
๑๕)ศิลาจารึกภาษาไทย จ..๗๕๔
๑๖)สิลาจารึกวัดตาเถรขึงหนัง
๑๗)ศิลาจารึกวัดพระยืน
๑๘)ศิลาจารึกวัดช้างค้ำ
๑๙)ไตรภูมิพระร่วง
๒๐)สุภาษิตพระร่วง
๒๑)นางนพมาศ
๒๒)มังรายศาสตร์
วรรณคดีสมัย  สุโขทัย
      เช่น  ศิลาจารึกวัดเขากบ  เมืองปากน้ำโพ
ศิลาจารึกวัดเขากบ เมืองปากน้ำโพ อยู่ทีนครสรรค์ ก็คือศิลาจารึก หลักที่ ๑๑ มีลักษณะเป็นหลักหิน ข้าใจว่าจารึกหลัง พ.ศ ๑๙๖๒                                             ผู้แต่ง ผู้แต่งไม่ทราบว่าเป็นใคร แต่มีข้อความบ่งบอกว่า พ่อขุนบานเมืองทรงอุทิศส่วนกุศลให้แก่พอขุนรามคำแหงผู้เป็นพระอนุชา ทำนองแต่ง แต่งเป็นร้อยแก้ววัตถุประสงค์ในการแต่ง เพื่ออุทิศส่วนกุศลให้แก่พอขุนรามคำแหงสาระสำคัญ กล่าวถึงการสร้างเจดีย์ วิหาร การปลูกต้นโพธิ์ ก็เพื่อประดิษฐานพระพุทธศาสนาไว้ให้ยืนยง ยังมีการจุดสระปลูกบัว เพื่ออุทิศส่วนกุศลไปให้พ่อขุนรามคำแหง นอกจากนั้นยังกล่าวถึงการบำเพ็ญบุญกุศลต่างๆของผู้คนทั่วไป                         
                                     สมัยธนบุรี
วรรณคดีสมัยกรุงธนบุรีเป็นบทประพันธ์ร้อยกรองทั้งหมด มีครบทั้งโครงฉันท์ กาพย์ กลอน ร่าย เนื้อหาสาระมีหลากหลาย แต่ทีเน้นเป็นพิเศษก็คือ สรรเสริญพระมหากษัตริย์ ศาสนา ให้คติธรรม สั่งสอน และความบันเทิงใจ
   วรรคดีสมัยกรุงธนบุรี  มีดังต่อไปนี้                                                 ๑. บทละคร เรื่อง รามเกียรติ์ซึ่งมี ๔ ตอน คือ                                    -ตอนพระมงกุฎประลองศร                                                            -ตอนหนุมานเกี้ยวนางวานริน                                                      -ตอนท้าวมาลีราชว่าความ                                                          -ตอนทศกัณฐ์ตั้งพิธีทรายกรด                                                     แต่งโดย สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
.ลิลิตเพชรมงกุฎ                                                                    แต่งโดย หลวงสรวิชิต (หน) หรือ เจ้าพระยาคลัง (หน) ในสมัยต่อมา
.อิเหนาคำฉันท์                                                                                  แต่งโดย หลวงสรวิชิต (หน) หรือ เจ้าพระยาคลัง (หน) ในสมัยต่อมา
.โครงยอพระเกียรติพระเจ้ากรุงธนบุรี                                                          แต่งโดย นายสวน มหาดเล็ก
.กฤษณาสอนน้องคำฉันท์                                                        แต่งโดย พระภิกษุอินและยาราชสุภาวดี
.นิราศกวางตุ้ง                                                                          แต่งโดย พระยามหานุภาพ
.เพลงยาว                                                                                       แต่งโดย พระยามหานุภาพ
.นิทานปาจิตตกุมารกลอนอ่าน                                                          แต่งโดย พระราชโมฬิ (แจ่ม บุรณนนท์) วัดราชบูรณะ
วรรณคดีสมัยกรุงธนบุรี
       เช่น  อิเหนาคำฉันท์                                                                              ตัวอย่าง                                                                                                        อิเหนาปลอบใจบุษบา                                                                                      แม้จักนิวัตนิเวศน์          ทิศนี้  ณ  รัถยา                                                       ตัวพี่นี้จักจรทุรา                อรัญเวศจวบวาย                                               อ้าแม่อย่าแหนงมนัสพี่      ว่าจะเบื้อหมันหยาหมาย                                     ใจเรียบสูญสัจจะมลาย      ชีพม้วยนาดอน                                                       คุณค่าของอิเหนา                                                                                              ๑
. ในด้านอักษรศาสตร์  เป็นฉันท์ที่มีความไพเราะคมคายเล่มหนึ่งโดยเฉพาะอย่างยิ่งในกระบวนการพรรณนา                                                                      ๒ .ในด้านสังคม ได้แสดงให้เห็นผู้คนในสังคมที่มีวิถีทางในการเป็นอยู่รวมกลุ่มสังคม                                                                                                                                                                                                       สมัยกรุงรัตนโกสินทร์      
เป็นราชธานีของไทยมาได้ ๒๐๐ กว่าปีมีพระมหากษัตริย์ปกครองมาจนถึงบัดนี้รวม ๙ พระองค์ ทุกพระองค์ล้วนมีความสำคัญต่อบ้านเมืองไทยทั้งสิ้น ในที่นี้จะกล่าวเฉพาะช่วงรัชกาลที่ ๑,๒,๓วรรณคดีสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชในสมัยของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก โดยได้มีการรบพุ่งกับประเทศพม่าอยู่หลายครั้งหลายหน ซึ่งปรากฏว่าไทยเป็นฝ่ายกำชัยชนะว่าจากสงครามพระองค์ก็ทรงทำการฟื้นฟูประเทศเป็นการใหญ่ ทั้งในด้านการพุทธศาสนา การกฎหมาย การละคร และบทกวี นักกวีและวรรณคดีสำคัญในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช มีดังต่อไปนี้                      ๑.พระบาทมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก                                                         (๑)เพลงยาวรบพม่าที่ดินแดง                                                                     (๒)บทละครเรื่องรามเกียรติ์                                                                      (๓)บทละครเรื่องอุณรุท  ฯลฯ                                                                     (๔) ฯลฯ                                                                                                        วรรณคดีสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย                                  ยุคสมัยได้ชื่อว่าเป็นยุคทองของวรรณคดีแหงกรุงรัตนโกสินทร์งานกวีรุ่งเรืองที่สุดทรงสนับสนุนให้การแต่งกวีกันอย่างแพร่หลายทั่วไป และทรงชุบเลี้ยงนักกวีสำคัญๆไว้ในราชสำนักในด้านการละครมีความเจริญรุ่งเรืองทั้งละครนอก ละครใน เกิดวรรณคดีหลายประเภทขึ้น นักกวีและวรรณคดีสมัยรัชกาลที่ ๒มี     ดังต่อไปนี้                                                                                                          ๑)พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย                                                    (๑)บทละครเรื่องรามเกียรติ์                                                                              (๒)บทพากย์เรื่องรามเกียรติ์                                                                           (๓)บทเสภาเรืองขุนช้างขุนแผน                                                                         (๔)บทละครเรื่องอิเหนา                                                                            วรรณคดีสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว                                         ในรัชกาลนี้ได้มีการชำระวรรณคดีที่มีข้อมูลสูญหายไปบ้าง หรือชำรุดบกพร่องอย่างหนึ่งอย่างใดให้มีความสมบูรณ์มากขึ้น เช่น โคลงโลกนิติ โคลงพาลีสองน้อง สุภาษิตพระร่วง เป็นต้นในรัชกาลนี้ได้มีการจัดตั้งโรงพิมพ์ขึ้น ทำให้การพิมพ์วรรณคดีออกเผยแพร่เริ่มแพร่หลายกว้างขวาง                             วรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร์                                                                        เช่น บทละครเรื่องอุณรุท                                                                              ตัวอย่าง                                                                                                            พรรณนาบทท้าวพานาสูตร                                                                         สิบเศียรสิบหน้ายี่สิบกร                    สูงเยี่ยมอัมพรเวหา                                              สิบปากเขี้ยวงอกออกมา                   ยี่สิบตาดังดวงอโณทัย                                                 แผดเสียงสิงหนาตวาดร้อง                 กึกก้องฟากฟ้าดินไหว                          กระทืบบาทครั้งครันสนั่นไป               ถึงเมรุไกรสัตภัณฑ์ฯ                      คุณค่าของอุณรุท                                                                                     (๑)ในทางอักษรศาสตร์ การพรรณนาเห็นภาพพจน์ชัดเจน ถ้อยคำสำนวนไพเราะ                                                                                                     (๒)ในทางวิถีชีวิต  ได้บอกให้รู้ถึงการใช้ชีวิตของผู้คนสมัย
                                                                                                                                                                                                                  
                                    

บทที่๓
วิธีการดำเนินงาน                                                                                                                                                                                  รายงานเรื่อง วรรณคดีไทยแต่ละยุคสมัยผู้จัดทำได้ดำเนินการดั่งนี้                                                                                                       วิธีการดำเนินงาน
รายงานเรื่อง วรรณคดีแต่ละยุคสมัย มีวิธีการดำเนินการค้นคว้าดังนี้                    ๑)ผู้ศึกษานำเสนอหัวข้อโครงงานต่ออาจารย์ที่ปรึกษาเพื่อขอคำแนะนำและกำหนดขอบเขตในการทำโครงงาน                                                             ๒)ผู้ศึกษาร่วมกำหนดการวางแผนวิเคราะห์ตามหัวข้อวัตถุประสงค์ของโครงงาน                                                                                                  ๓)ผู้ศึกษาร่วมกันค้นคว้าจากหนังสือต่างๆดังนี้ หนังสือเรียน หนังสือพิมพ์และสื่อต่างๆ จากอินเตอร์เน็ต                                                                          ๔)ศึกษาเก็บข้อมูลเป็นขั้นตอนของเก็บรวมรวบข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับโครงงานเพื่อมาวิเคราะห์และสรุปเนื้อหาที่สำคัญที่จะมาจัดทำโครงงาน                     ๕)นำเสนอผลงานต่ออาจารย์ที่ปรึกษาเพื่อรายงานผลการดำเนินงาน                              ๖)จัดทำคู่มือเพื่อใช้สำหรับศึกษาและรายงานต่ออาจารย์ที่ปรึกษา

                      
                                               บทที่๔
                    ผลการดำเนินการ
              วรรณคดี หมายถึง หนังสือที่มีลักษณะเด่นในเชิงประพันธ์เป็นวรรณศิลป์ที่มีคุณค่าทางอารมณ์  และความรู้สึกแก่ผู้อ่าน มีรูปแบบและเนื้อหาผสมผสานกลมกลืนกัน มีจิตนาการณ์สามารถโน้มน้าวให้ผู้อ่านเกิดอารมณ์สะเทือนใจตลอดจนมีคุณค่าในด้านแนวคิดที่แฝงอยู่ในเรื่อง
                             ผลการศึกษาค้นคว้า
๑)ผู้ศึกษาและผู้ที่สนใจ มีความสนใจในเรื่อง วรรณคดีไทย ได้รับความบันเทิงใจและประทับใจ                                                                                       ๒)ผู้ศึกษาและผู้ที่สนใจ ได้รู้จักถ้อยคำ สำนวนโวหาร อันจะพูดหรือเขียนใช้ภาษาที่สละสลวยและเป็นผู้ที่ใช้ภาษาได้ดี                                                  ๓)ผู้ศึกษาและผู้ที่สนใจได้เห็นคุณค่าของงานประพันธ์ ที่บรรพชนถ่ายทอดไว้และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน



                                         บทที่ ๕
สรุป และอภิปรายผลและข้อเสนอแนะ
รายงานเรื่อง วรรณคดีไทยแต่ละยุคสมัยสามารถสรุปและอภิปรายผลการดำเนินการดังนี้
    จากการที่คณะผู้จัดทำได้มีความสนใจศึกษาวรรณคดีไทยแต่ละยุคสมัยตามวัตถุประสงค์เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับภาษา ถ้อยคำภาษา รู้สำนวนวาร จากบทประพันธ์ วรรณคดีหนังสือต่างๆได้แก่ หนังสือวรรณคดีสมัยอยุธยา วรรณคดีสมัยสุโขทัย วรรณคดีสมัยธนบุรี วรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร์ ซึ่งพบว่า การใช้ถ้อยำภาษา สำนวนโวหารทำให้ผู้ศึกษามีความเข้าใจและสามารถเผแพร่ผลการศึกษาได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
อภิปราย
จากการศึกษาค้นคว้าวรรณคดีไทยแต่ละยุคสมัย
   วรรณคดี หมายถึง หนังสือที่มีลักษณะเด่นในเชิงประพันธ์เป็นวรรณศิลป์ที่มีคุณค่าทางอารมณ์และความรู้สึกแก่ผู้อ่าน มีรูปแบบและเนื้อหาผสมผสานกลมกลืน มีจิตนาการ สามารถโน้มน้าวผู้อ่านให้เกิดอารมณ์สะเทือนใจ ตลอดจนมีคุณค่าในด้านแนวคิดที่แฝงอยู่ในเรื่อง
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ                                                                                    ๑)เกิดความสามัคคีภายในกลุ่ม                                                                                        ๒)ผู้ศึกษาและผู้ที่สนใจรู้ถ้อยคำภาษา รู้สำนวนโวหารของวรรณคดี                          ๓)ผู้ศึกษาและผู้ที่สนใจ ได้รับความบันเทิงใจ และความประทับใจ











                                

บรรณานุกรม
1.ชื่อผู้แต่ง เอกรัตน์ อุดมพร วรรณคดีกรุงรัตนโกสินทร์- กรุงเทพมหานคร-พัฒนาศึกษา, ๒๕๔๔
2.ชื่อผู้แต่ง เอกรัตน์ อุดมพร วรรณคดีสมัยธนบุรี- กรุงเทพมหานคร-พัฒนาศึกษา, ๒๕๔๔
3.ชื่อผู้แต่ง เอกรัตน์ อุดมพร วรรณคดีสมัยสุโขทัย- กรุงเทพมหานคร-พัฒนาศึกษา, ๒๕๔๔
4.ชื่อผู้แต่ง เอกรัตน์ อุดมพร วรรณคดีสมัยอยุธยา- กรุงเทพมหานคร-พัฒนาศึกษา, ๒๕๔๔












ภาคผนวก