วันอังคารที่ 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557

รายงานเรื่องคำราชาศัพท์

คำราชาศัพท์
( royal word )

โดย
1.นาย ศุภชัย          ไชยพิศ                           เลขที่ 4
2.นางสาว ประพิมพ์พรรณ      เพ่งพิศ      เลขที่ 13
3.นางสาว ไพลิน       ประวัน                      เลขที่ 19
4.นางสาว ภานุชนารถ   แสงใส                 เลขที่ 20
5.นาย กฤษณพงษ์        บรรเลง                   เลขที่ 28
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/3

โรงเรียนตานีวิทยา
สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 33

รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาค้นคว้ารายวิชา I 30202
การสื่อสารและการนำเสนอ ( Communication  and  Presentation )

ประจำภาคเรียนที่ 1    ปีการศึกษา 2556



คำราชาศัพท์
( royal word )

โดย
                  1.นาย ศุภชัย                            ไชยพิศ      เลขที่ 4
                  2.นางสาว ประพิมพ์พรรณ      เพ่งพิศ       เลขที่ 13
                  3.นางสาว ไพลิน                     ประวัน      เลขที่ 19
                  4.นางสาว ภานุชนารถ             แสงใส      เลขที่ 20
                  5.นาย กฤษณพงษ์                   บรรเลง      เลขที่ 28
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/3

โรงเรียนตานีวิทยา
สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 33

ครูที่ปรึกษา
นางปัณพิชชา            บรรเลง


กิตติกรรมประกาศ

            รายงานเรื่อง คำราชาศัพท์ (royal word ) ฉบับนี้ได้รับการสนับสนุนจาก
นาย สมโภชน์     สุขเจริญ    ผู้อำนวยการโรงเรียนตานีวิทยา  ผู้จัดทำขอกราบขอบพระคุณท่านมา ณ โอกาศนี้
            ขอขอบพระคุณ นางปัณพิชชาบรรเลงครูที่ปรึกษา ที่ได้ให้คำแนะนำ 
และเคยช่วยเหลือในการจัดทำรายงานจนสำเร็จลุล่วง และขอบพระคุณคณะครูทุกท่าน ที่ให้ความช่วยเหลือและให้คำแนะนำที่เป็นประโยชน์
            ขอขอบพระคุณบิดามารดาของคณะผู้จัดทำ ที่ให้การสนับสนุนการศึกษาเล่าเรียน และคอยเป็นกำลังใจที่ให้เสมอมา

คณะผู้จัดทำ









สารบัญ
เรื่อง                                                                                                                            หน้า
บทที่ 1 บทนำ                                                                                                                 1
            ที่มาและความสำคัญ                                                                                         1
            วัตถุประสงค์                                                                                                     1
            ระยะเวลาและสถานที่ดำเนินการ                                                                       1
            ผลที่คาดว่าจะได้รับ                                                                                           1
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง                                                                                                2
            หัวข้อที่ 1                                                                                                              2
            หัวข้อที่ 2                                                                                                                          3
            หัวข้อที่ 3                                                                                                              4
บทที่ 3 วิธีดำเนินการ                                                                                                        5
บทที่ 4 ผลการดำเนินการ                                                                                                6
บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ                                                                 7
            สรุปผล                                                                                                                7
            อภิปรายผล                                                                                                                      7

หน้า
ข้อเสนอแนะ                                                                                                                               8
บรรณานุกรม                                                                                                                  10
ภาคผนวก                                                                                                                        11













สารบัญตาราง
หน้า
ตารางที่ 1 เรื่อง คำราชาศัพท์ที่ใช้กับพระมหากษัตริย์                                                                  2
ตารางที่ 2 เรื่อง คำราชาศัพท์ที่ใช้กับพระสงฆ์                                                                             3
ตารางที่ 3 เรื่อง คำราชาศัพท์ หมวยร่างกาย                                                                                  4





           





1
บทที่ 1
บทนำ
ที่มาและความสำคัญ
            การเรียนภาษาไทยมีบทเรียนที่น่าสนใจมาก โดยเฉพาะบทเรียนเรื่อง คำราชาศัพท์  ซึ่งทางคณะผู้จัดทำ มีความคิดเห็นว่าคำราชาศัพท์เป็นเรื่องที่ยุ่งยากสำหรับผู้ที่ศึกษาแล้วไม่ได้นำไปใช้ประโยชน์ ดังนั้นคณะผู้จัดทำจึงศึกษาเรื่อง คำราชาศัพท์ เพื่อทำให้ผู้ที่ศึกษาเกิดความรู้ ความเข้าใจ ในคำราชาศัพท์มากขึ้น ทำให้การเรียนการสอนคำราชาศัพท์ไม่น่าเบื่อ และใช้ป็นสื่อในการเรียนการสอน และผู้ศึกษาจะได้มีความกระตือรือร้นในการศึกษามากยิ่งขึ้นด้วย

วัตถุประสงค์
1.เพื่อให้ความรู้เรื่อง คำราชาศัพท์
2.เพื่อนำคำราชาศัพท์ไปใช้ให้เหมาะสมในแต่ละโอกาส
3.เพื่อทำให้ผู้ศึกษามีความกระตือรือร้นในการเรียนมากยิ่งขึ้น

ระยะเวลาและสถานที่ดำเนินการ
                รายงานเรื่อง คำราชาศัพท์ ใช้ระยะเวลาในการศึกษาค้นคว้า ตั้งแต่วันที่ 20 พฤศจิกายน 2556  ถึงวันที่ 15เดือน ธันวาคม  ..2556
                สถานที่ดำเนินการได้แก่  โรงเรียนตานีวิทยา

ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ได้รับความรู้เรื่องคำราชาศัพท์
2.สามารถนำคำราชาศัพท์ไปใช้ให้เหมาะสมในแต่ละโอกาส
3.ผู้ศึกษามีความกระตือรือร้นในการเรียนมากยิ่งขึ้น
2
บทที่ 2
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
            รายงานเรื่อง คำราชาศัพท์ ผู้จัดทำได้มีการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้อง
1.หนังสือเรียนหลักภาษา ม.
2.พจนานุกรมไทย
ตารางที่ 1เรื่อง คำราชาศัพท์ที่ใช้กับพระมหากษัตริย์
คำราชาศัพท์ สำหรับพระมหากษัตริย์เป็นคำที่ข้าราชบริพารใช้เมื่อกราบบังคมทูลหรือใช้เมื่อกล่าวถึงพระมหากษัตริย์ หรือพระบรมวงศานุวงศ์
คำที่นำด้วย พระราช มีดังนี้
คำราชาศัพท์
ความหมาย
พระราชหฤทัย
ใจ
พระราชกุศล
บุญกุศล
พระราชดำริ
ความคิด
พระราชประสงค์
ความประสงค์
พระราชหัตถเลขา
จดหมาย
พระราชลัญจกร
ตรา
พระราชศรรัทธา
ความศรัทธา
พระราชดำรัส
  คำกล่าว
พระราชโองการ
  คำสั่ง
พระราชนิพนธ์
  งานประพันธ์
พระราชกรณียกิจ
  กิจอันพึงทำ
พระราชปรารถ
  คำกล่าวถึง



3
ตารางที่ 2เรื่อง คำราชาศัพท์ที่ใช้กับพระสงฆ์
            คำนามที่ใช้สำหรับพระภิกษุนั้น ส่วนมากใช้เช่นเดียวกับบุคคลทั่วไป เว่นแต่คำบางคำที่กำหนดไว้เฉพาะพระภิกษุสงฆ์ เช่น
คำราชาศัพท์
ความหมาย
กาสาวพัสตร์
ผ้าย้อมฝาด คือ ผ้าเหลืองพระ
กลด
ร่มขนาดใหญ่ มีด้ามยาว สำหรับพระธุดงค์โดยเฉพาะ
จีวร
ผ้าสำหรับห่มของภิกษุสามเณร คู่กับสบง
สบง
ผ้านุ่งสำหรับห่มของภิกษุสามเณร
สังฆาฏิ
ผ้าคลุมกันหนาวสำหรับพระ ใช้ทาบบนจีวร ใช้พันพาดบ่าซ้าย
ตาลปัตร
พัดใบตาล มีด้ามยาว สำหรับพระช้ในพิธีกรรม
ไทยธรรม
ของถวายพระ
ธรรมาสน์
ที่สำหรับภิกษุสามเณรนั่งแสดงธรรม
บาตร
ภาชนะชนิดหนึ่งสำหรับห่มของภิกษุสามเณรใช้รับอาหารบิณฑบาต
บริขาร
เครื่องใช้สอยของภิกษุ มี ๕ อย่างรวมเรียกว่า
 “ อัฎฐบริขาร” ได้แก่ จีวร สบง สังฆาฏิ บาตร มีดโกน เข็ม ประคดเอว กระบอกกรองน้ำ
เบญจางคประดิษฐ์
การกราบโดยให้อวัยวะทั้ง ๕ คือ เข่าทั้ง ๒ มือทั้ง ๒ และหน้าผากจรดกับพื้น
ปัจจัย
 เงินที่ทายกยิกาถวายพระเพื่อเป็นคำปัจจัยสี่ คือ เครื่อง นุ่งห่ม ที่อยู่อาศัย ยารักษาโรค
ลิขิต
 จดหมายของพระสงฆ์

               


4
ตารางที่ 3เรื่อง คำราชาศัพท์ หมวยร่างกาย
คำราชาศัพท์
ความหมาย
พระที่นั่ง
ก้น , ที่นั่งทับ
พระอัฐิ
กระดูก
พระปราง
แก้ม
พระโลมา
ขน
พระโลมจักษุ , ขนพระเนตร
ขนตา
พระอุณาโลม
ขนระหว่างคิ้ว
ขอบพระเนตร
ขอบตา
ข้อพระบาท
ข้อเท้า
ข้อพระกร , ข้อพระหัตถ์
ข้อมือ
พระกัปประ
ข้อศอก
พระเพลา
ขา , ตัก
ต้นพระหนุ
ขากรรไกร
พระทาฐะ , พระทาฒะ
เขี้ยว
พระชานุ
เข่า
พระชงฆ์
แข้ง
พระพาหา , พระพาหุ
แขน ( ตั้งแต่ไหล่ถึงข้อศอก )
พระศอ
คอ
พระหนุ
คาง
พระขนง , พระภมู
คิ้ว
พระนาสา , พระนาสิก
จมูก
พระเนตร , พระนยนะ
ดวงตา
พระอูรุ
ต้นขา


5
บทที่ 3
วิธีการดำเนินงาน
            รายงานเรื่อง คำราชาศัพท์ ผู้จัดทำได้ดำเนินการดังนี้
วิธีการดำเนินงาน
            รายงานเรื่อง คำราชาศัพท์ มีวิธีดำเนินการศึกษาค้นคว้าดังนี้
1.ผู้ศึกษานำเสนอโครงงานต่ออาจารย์ที่ปรึกษาเพื่อขอคำแนะนำและกำหนดขอบเขตในการทำ           โครงงาน
2.ผู้ศึกษาร่วมกันประชุมวางแผนวิเคราะห์ตามหัวข้อวัตถุประสงค์ของโครงงาน
3.ผู้ศึกษาร่วมกันค้นคว้าจากหนังสือต่างๆดังนี้ หนังสือเรียน หนังสือพิมพ์และสื่อต่างๆจากอินเทอร์เน็ต
4.ศึกษาและเก็บข้อมูลเป็นขั้นตอนของการเก็บรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับโครงงานเพื่อวิเคราะห์สรุปเนื้อหาที่สำคัญที่จะนำมาจัดทำโครงงาน
5.นำเสนอผลงานต่ออาจารย์ที่ปรึกษาเพื่อรายงานผลการดำเนินงาน
6.จัดทำคู่มือเพื่อใช้สำหรับศึกษาและรายงานต่ออาจารย์ที่ปรึกษา





6
บทที่ 4
ผลการดำเนินการ                                                                                                 
            รายงานเรื่อง คำราชาศัพท์ มีผลการดำเนินการดังนี้
ความหมายของคำราชาศัพท์
            คำราชาศัพท์ ที่พระยาอุบกิตศิลปสาร ได้อธิบายไว้ในหนังสือจีวิภาคของท่านว่าหมายถึง ศัพท์สำหหรับพระราชาหรือศัพท์หลวง แต่ปัจจุบัน หมายถึง ระเบียบการใช้ถ้อยคำให้ถูกต้องตามฐานะของบุคคลได้แก่ บุคคลที่เคารพตั่งแต่พระราชา พระราชวงค์ พระภิกษุ ข้าราชการรวมถึงคำที่ใช้กับสุภาพชนทั่วไป

ผลการดำเนินงาน
1.ผู้ศึกษามีความรู้ในเรื่องคำราชาศัพท์และสามารถนำไปใช้ได้อย่างถูกต้อง
2.ผู้ศึกษานำคำราชาศัพท์ไปใช้ให้เหมาะสมในแต่ละโอกาส
3..ผู้ศึกษามีความเพลิดเพลินและกระตือรือร้นในการเรียนมากยิ่งขึ้น    





7
บทที่ 5
สรุป อภิปรายและข้อเสนอแนะ
รายงานเรื่อง คำราชาศัพท์ สามารถสรุปและอภิปรายผลการดำเนินการดังนี้
                จากการศึกษาผู้ศึกษามีความสนใจศึกษาคำราชาศัพท์ตามวัตถุประสงค์ คือ เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับคำราชาศัพท์ โดยแบ่งตามหมวดของร่างกาย การใช้ราชของพระมหากษัตริย์ และ คำราชาศัพท์ที่ใช้กับพระภิกษุสงฆ์

อภิปรายผล
            คำราชาศัพท์ หมายถึง คำสำหรับพระราชาหรือศัพท์หลวง แต่ปัจจุบัน หมายถึง ระเบียบการใช้ถ้อยคำให้ถูกต้องตามฐานะของบุคคลได้แก่ บุคคลที่เคารพตั่งแต่พระราชา พระราชวงค์ พระภิกษุ ข้าราชการรวมถึงคำที่ใช้กับสุภาพชนทั่วไป

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1.เกิดความสามัคคีในกลุ่ม
2.มีความรู้ในเรื่องคำราชาศัพท์
3.มีความเข้าใจเกี่ยวกับคำราชาศัพท์ไปใช้ให้เหมาะสมในแต่ละโอกาส


8
ข้อเสนอแนะ
1.ควรมีการจัดทำเป็นหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ เผยแพร่ตามเว็บไซต์ต่าง
2.นำผลการศึกษาคำราชาศัพท์ไปสร้างเป็นสื่อต่างๆ เช่น นิยาย เรื่องสั้น บทละคร เป็นต้น เพื่อเป็นที่สนใจต่อผู้ต้องการศึกษา














9
บรรณานุกรม















10
บรรณานุกรม

จำนงค์  ทองประเสริฐ.วิชาภาษาไทย.พิมพ์ครั้งที่ ๖.กรุงเทพฯ:อักษรเจริญทัศน์ ๒๕๒๓.
ชิต  ภิบาลแทน และ สุทธิ  ภิบาลแทน.เขียนไทย อ่านไทย และราชาศัพท์.กรุงเทพฯ
:อักษรบัณฑิต,๒๕๒o.
ประภาศรี  กำลังเอก.กรุงเทพฯ:แนตมีเดีย,๒๕๒๖.
มูลนิธิอัฏฐมราชานุสรณ์ ในพระบรมราชูประถัมภ์.เครื่องราชอิสรยาภรณ์.กรุงเทพมหานคร
                                : ส. ศิลบ , ๒๕๒๓
รัศมี  ภิบาลแทนแทน และ สุทธิ  ภิบาลแทน.งามจรรยา  งามมารยาท.กรุงเทพฯ
                                ::อักษรเจริญทัศน์ ,๒๕๕๓









11
ภาคผนวก


7 ความคิดเห็น:

  1. ประพิมพ์พรรณ : จากที่นักเรียนศึกษาค้นคว้าคำราชาศัพท์หมวดต่างๆ นักเรียนคิดว่านักเรียนได้นำความรู้จากคำราชาศัพท์หมวดใดไปใช้ในชีวิตประจำวันเรื่องใดบ้างจงยกตัวอย่าง

    ตอบลบ
  2. ไพลิน : ในชีวิตประจำวันของนักเรียนได้ใช้คำราชาศัพท์คำใดมากทีี่สุดและใช้กับใครจงยกตัวอย่าง

    ตอบลบ
  3. ภานุชนารถ : ทำไมนักเรียนจึงเลือกที่จะศึกษาเรื่องคำราชาศัพท์เพราะอะไร จงอธิบาย

    ตอบลบ
    คำตอบ
    1. เป็นเรื่องที่ยากต่อการศึกษาจึงเลือกศึกษาคำราชาศัพท์เพื่อจะได้มีคู่มือในการศึกษามากขึ้นและช่วยให้เรียนเรื่องคำราชาศัพท์เข้าใจมากยิ่งขึ้น

      ลบ
  4. ศุภชัย : นักเรียนได้ศึกษาคำราชาศัพท์เรื่องอะไรบ้าง จงยกตัวอย่างหมวดละ
    ๕ คำ

    ตอบลบ
  5. กฤษณพงษ์ : วัตถุประสงค์ของการศึกษาเรื่องคำราชาศัพท์ศึกษาเพื่ออะไรแล้วได้รับประโยชน์จากการศึกษาเรื่องนี้อย่างไรบ้างจงอธิบาย

    ตอบลบ