วันพุธที่ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557

อาเซียนม.4/2

อาเซียน
ASEAN

โดย
                                           1.นาย เดชา        เห็นทั่ว                    ชั้น ม.4/2     เลขที่ 3
                                           2.นาย สุพจน์     สำราญดี                 ชั้น ม.4/2    เลขที่ 13
                                           3.นางสาว นิศา      สติ่มั่น                 ชั้น ม.4/2    เลขที่ 17
                                          4.นางสาว มณฑาทิพย์  สำราญดี       ชั้น ม.4/2    เลขที่18
                                           5.นางาสาว ศิโรรัตน์     กลุ่มยา        ชั้น ม.4/2    เลขที่20
                                           6.นางสาว อนงค์นาถ    จันทฆาต     ชั้น ม.4/2    เลขที่23

โรงเรียนตานีวิทยา
สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33

รายงานเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาค้นคว้ารายวิชา I30202
การสื่อสารและการนำเสนอ (Communication and Presntation)
ประจำภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556

อาเซียน
ASEAN

โดย
                                           1.นาย เดชา        เห็นทั่ว                    ชั้น ม.4/2     เลขที่ 3
                                           2.นาย สุพจน์     สำราญดี                 ชั้น ม.4/2    เลขที่ 13
                                           3.นางสาว นิศา      สติ่มั่น                 ชั้น ม.4/2    เลขที่ 17
                                          4.นางสาว มณฑาทิพย์  สำราญดี       ชั้น ม.4/2    เลขที่18
                                           5.นางาสาว ศิโรรัตน์     กลุ่มยา        ชั้น ม.4/2    เลขที่20
                                           6.นางสาว อนงค์นาถ    จันทฆาต     ชั้น ม.4/2    เลขที่23

โรงเรียนตานีวิทยา
สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33

ครูที่ปรึกษา
นาง ปัณพิชชา   บรรเลง


กิตติประกาศ

            รายงงานเรื่อง อาเซียน (ASEAN) ฉบับนี้ได้รับการสนับสนุนจาก -
นายสมโภชน์  สุขเจริญ ผู้อำนวยการโรงเรียนตานีวิทยา ผู้จัดทำขอกราบขอบพระคุณท่านมา ณ โอกาสนี้
            ขอขอบพระคุณ คุณครู ปัณพิชชา  บรรเลง  ครูผู้ฝึกสอน ที่ได้คำแนะนำ และคอยช่วยเหลือในการจัดทำรายงานจนสำเร็จลุล่วง และขอขอบคุณคณะครูทุกท่าน ที่ให้ความช่วยเหลือและคำแนะนำที่เป็นประโยชน์
            ขอขอบคุณพระบิดามารดาของคณะผู้จัดทำที่ให้การสนับสนุนในการศึกษาเล่าเรียน และคอยเป็นกำลังใจที่ให้เสมอมา
                                                                                                      

                                                                                                              คณะผู้จัดทำ








                                                               สารบัญ                                                           หน้า
บทที่ 1
                แนวคิด ที่มาและความสำคัญ                                                                                            1
                วัตถุประสงค์                                                                                                                     1
                ระยะเวลาและสถานที่ดำเนินงาน                                                                                      2
                ผลที่คาดว่าจะได้รับ                                                                                                          2
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง                                                                                                             3
                ประวัติความเป็นมาของอาเซียน                                                                                      3
                วัตถุประสงค์ของสมาคมอาเซียน                                                                                  3-4
                3 เสาหลักแห่งอาเซียน                                                                                                   4-5
                ธงและสัญลักษณ์ของอาเซียน                                                                                         5
                มารู้จัก 10 ประเทศสมาชิกอาเซียนกันเถอะ                                                                  6-12
บทที่ 3 วิธีดำเนินการ                                                                                                                    13
บทที่ 4 ผลการดำเนินการ                                                                                                             14
บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ                                                                              15
                สรุปผล                                                                                                                            15
                อภิปรายผล                                                                                                                    15-16
                ข้อเสนอแนะ                                                                                                                    16    
บรรณานุกรม                                                                                                                17
ภาคผนวก                                                                                                                     18
1
บทที่ 1
บทนำ
แนวคิดที่มาและความสำคัญ
       อีกไม่นานประเทศไทยของเราก็จะรวมเป็นหนึ่งเดียวของเพื่อนบ้าน ซึ่งจะทำให้ประเทศของเรามีการปรับเปลี่ยนในหลายๆด้าน เช่น ด้านเศรษฐกิจ ด้านการศึกษา และอื่นๆ เป็นต้น ดังนั้น เพื่อการเตรียมความพร้อม เราควรเรียนรู้เกี่ยวกับประชาคมอาเซียนของเรา และตระหนักในการเป็นประชาคมอาเซียนให้มากยิ่งขึ้น รับรู้ถึงความเป็นพลเมือง อาเซียนที่มีส่วนในการขยายความสัมพันธ์ร่วมกัน
       เพราะมนุษย์เป็นสัตว์สังคม การอยู่ร่วมกันเป็นสิ่งจำเป็น การมีความสุขหรือความทุกข์ การกินดีอยู่ดี หรือการอดอยากความปลอดภัยหรือความโดดเดี่ยวอยู่ที่ความสัมพันธ์ อยู่ที่ความร่วมมือซึ่งกันและกัน จากเหล่าสมาชิกอาเซียนทั้ง 10 ประเทศ ผนึกกำลังร่วมกันเป็นประชาคมอาเซียน อันแข็งแกร่งที่ทรงพลังของโลกใบนี้
วัตถุประสงค์
     1.เพื่อสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างประเทศในกลุ่มอาเซียน
     2.เพื่อเป็นศูนย์กลางการเผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับอาเซียนและของประเทศ สมาชิกอาเซียนในทุกๆด้าน
     3.เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมให้ประเทศสมาชิกอาเซียน มีความร่วมมือกันในด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมประเพณี
      4.เพื่อขยายขอบเขตการค้าระหว่างประเทศในอาเซียน
      5.เพื่อช่วยส่งเสริมให้ประชาชนในอาเซียนมีคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ที่ดีในทุกๆด้าน
2
ระยะเวลา
     วันที่ 23 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ 2556 ถึงวันที่ 18 เดือน มกราคม พ.ศ 2557
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
      1.ทำให้เกิดความเจริญรุ่งเรืองทางด้านเศรษฐกิจ
      2.ทำให้ประชาชนในอาเซียนมีความเป็นอยู่และคุณภาพชีวิตที่ดี
      3.เกิดการพัฒนาศักยภาพของนักเรียน นักศึกษา และประชาชน















3
บทที่ 2
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
     1.เรียนรู้เรื่อง อาเซียน
     2.สถานี อาเซียน
     3.เพื่อก้าวสู่ประชาคม อาเซียน
     4.เรา คือ ประชาคมอาเซียน

ประวัติความเป็นมาของอาเซียน
         สมาคมอาเซียน หรือสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีสมาชิกทั้งหมด 10 ประเทศ ก่อตั้งขึ้นโดยปฏิญญากรุงเทพ ฯ เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ 2510 โดยมีจุดประสงค์หลักเพื่อสร้างความสัมพันธ์อันดีของประเทศในภูมิภาค และส่งเสริมกันในด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การศึกษา และวัฒนธรรม ประเทศผู้ก่อตั้งอาเซียนในช่วงเริ่มแรก ได้แก่ ไทย มาเลเซียอินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ และสิงค์โปร์
วัตถุประสงค์ของสมาคมอาเซียน
        1.สร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างประเทศในกลุ่มอาเซียน เพื่อประโยชน์ในด้านการค้า การลงทุน การแลกเปลี่ยนวัฒนธรรม และความเป็นอยู่ของประชาชนในประเทศสมาชิก
        2.เป็นส่วนกลางการเผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับอาเซียนและของประเทศสมาชิกอาเซียนในทุกๆด้าน
        
4
        3.เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมให้ประเทศสมาชิกอาเซียน มีความร่วมมือกันในด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมประเพณี
       4.เพื่อขยายขอบเขตการค้าระหว่างประเทศในอาเซียนและเพื่อประสิทธิภาพในเรื่องของการข่นส่ง การคมนาคม การเดินทางและเพิ่มคุณภาพของสินค้าต่างๆ
         5.เพื่อช่วยส่งเสริมให้ประชาชนในอาเซียนมีคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ที่ดีในทุกๆด้าน
3 เสาหลักของอาเซียน
         ประชาคมการเมืองและความมั่นคงของอาเซียน
         จัดตั้งขึ้นเพื่อให้ประเทศสมาชิกอยู่ร่วมกันได้อย่างสันติสุข สามารถแก้ไขปัญหาความขัดแย้งข้อพิพาทต่างๆด้วยสันติวิธี รวมถึงความร่วมมือในการต่อต้านการก่อการร้าย และเน้นการส่งเสริมระบอบประชาธิปไตยและสิทธิมนุษยชน
          ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
จัดตั้งขึ้นเพื่อให้ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีเศรษฐกิจที่มั่นคง สามารถแข่งขันกับภูมิภาคอื่น โดยมีแผนงานการดำเนินงาน ดังนี้คือ
          1.มีตลาดและฐานการผลิตเดียว
          2.ส่งเสริมการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจเพื่อให้สามารถแข่งขันได้
          3.พัฒนาเศรษฐกิจเพื่อความเสมอภาคกันของประเทศสมาชิก
          ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน
          จัดตั้งขึ้นเพื่อให้ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีเศรษฐกิจที่มั่นคง สามารถแข่งขันกับภูมิภาคอื่น โดยมีแผนงานการดำเนินงาน ดังนี้คือ
         5
         1.มีตลาดและฐานการผลิตเดียว
         2.ส่งเสริมการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจเพื่อให้สามารถแข่งขันได้
         3.พัฒนาเศรษฐกิจเพื่อความเสมอภาคกันของประเทศสมาชิก
         ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน
         จัดตั้งขึ้นเพื่อความเป็นดีอยู่ดีของประชาชนในภูมิภาคอาเซียน
         1.พัฒนาทรัพยากรมนุษย์
         2.พัฒนาสวัสดิ์การสังคม เพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพดี
         3.พัฒนาสิ่งแวดล้อมและอนุรักษ์ธรรมชาติ
ธงและสัญลักษณ์ของอาเซียน
        สัญลักษณ์ของอาเซียน คือ รูปรวงข้าวสีเหลืองบนพื้นสีแดงล้อมรอบด้วยวงกลมสีขาวและสีน้ำเงิน แสดงถึงความเป็นเอกภาพ รวงข้าว 10 ต้น หมายถึง ประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ทั้ง 10 ประเทศ รวมกันเพื่อมิตรภาพ และความเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกัน
        สีเหลือง      หมายถึง     ความเจริญรุ่งเรือง
        สีแดง         หมายถึง     ความกล้าหาญและมีพลวัต (สามัคคี)
        สีขาว          หมายถึง     ความบริสุทธิ์
        สีน้ำเงิน      หมายถึง     สันติภาพและความมั่นคง


6
มารู้จัก 10 ประเทศสมาชิกอาเซียนกันเถอะ      
บรูไน ดารุสซาลาม
       ประวัติความเป็นมา  ประเทศบรูไนเป็นประเทศที่มีอำนาจและเป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวางในช่วง ค.ศ 14-16 โดยมีอาณาเขตครอบครองส่วนใหญ่ของเกาะบอร์เนียว ต่อมาในปี ค.ศ 1929 บรูไนได้สำรวจพบก๊าซธรรมชาติและน้ำมันที่เมืองเซรีอา ทำให้บรูไนเป็นประเทศที่มีฐานะร่ำรวยขึ้นมา
       ที่ตั้ง  ทางตะวันตกเฉียงเหนือของเกาะบอร์เนียวโดยแบ่งเป็น 4 เขต
       พื้นที่  5765 ตารางกิฌลเมตร โดยพื้นที่ร้อยละ 70 เป็นป่าไม้เขตร้อน
       เมืองหลวง  บันดาร์ เสรี เบกาวัน
       ประชากร  408176 คน
       ภูมิอากาศ  ร้อนชื้น ฝนตกชุก อุณหภูมิเฉลี่ย 28 องศาเซลเซียส
       ภาษา  ภาษามาเลย์ เป็นภาษาราชการ รองลงมาเป็นภาษาอังกฤษ
       ศาสนา  ศาสนาอิสลาม 67 % ศาสนาพุทธ 13 % ศาสนาคริสต์และฮินดู
       เศรษฐกิจ  บรูไน มีนโยบายการค้าเสรีที่ส่งเสริมการลงทุนภายในประเทศและเป็นประเทศที่ส่งออกน้ำมันและก๊าซธรรมชาติเป็นหลัก
 ราชอาณาจักรกัมพูชา
        ประวัติความเป็นมา  แต่เดิมนั้นกัมพูชามีชื่อ เรียกว่า ขอม เป็นชื่อของชนชาติที่เก่าแก่ ต่อมาเปลี่ยนชื่อเรียกเป็น เขมร และกลายเป็น กัมพูชาในปัจจุบัน
        7
        ที่ตั้ง  กัมพูชาตั้งอยู่กลางภูมิภาคตะวันออกเฉียงใต้ มีพรมแดนทิศเหนือติดกับประเทศไทย
        พื้นที่  181035 ตารางกิโลเมตร
        เมืองหลวง  กรุงพนมเปญ
        ประชากร  14805000 คน
        ภูมิอากาศ  ร้อนชื้นมีฝนตกยาวนาน
        ภาษา  ภาษาเขมรเป็นภาษาราชการ
        ศาสนา  ศาสนาพุทธนิกายเถรวาท
        เศรษฐกิจ  หลังจากที่ประเทศกัมพูชาได้ปลี่ยนระบบการปกครองจากสังคมนิยมมาเป็นประชาธิปไตย สภาพเศรษฐกิจโดยรวมก็เริ่มฟื้นตัวขึ้น
สาธารณรัฐอินโดนีเซีย    
        ประวัติความเป็นมา  อินโดนีเซียเป็นประเทศหมู่เกาะที่ใหญ่ที่สุดในโลกและอยู่ภายใต้การปกครองของเนเธอร์แลนด์อยู่ประมาณ 301 ปี
        ที่ตั้ง  อยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้โดยตั้งอยู่บนเส้นทางเชื่อมต่อระหว่างมหาสมุทรมาซิกฟิกและมหาสมุทรอินเดีย
         พื้นที่  1890757 ตารางกิโลเมตร
         เมืองหลวง  จากาตาร์   
       ภูมิอากาศ  มีอากาศร้อนชื้น แดดศูนย์สูตร ประกอบด้วย 2 ฤดู คือ ฤดูแล้งและฤดูฝน
         ภาษา  ภาษาราชการและภาษาประจำชาติ
        8
         ศาสนา  ศาสนาอิสลาม ศาสนาคริสต์ ศาสนาฮินดู และศาสนาพุทธ
         เศรษฐกิจ  ในปัจจุบันเศรษฐกิจของอินโดนีเซียกำลังขยายตัวอย่างต่อเนื่องโดยมีสินค้าส่งออกที่สำคัญ ได้แก่ น้ำมันและก๊าซธรรมชาติรวมไปถึงสินค้าการเกษตรต่างๆ เช่น ยางพารา กาแฟ โกโก้ ข้าว มันสำปะหลัง เป็นต้น
สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
         ประวัติความเป็นมา  ประวัติศาสตร์ยุคแรกๆของลาวนั้นจากที่มีการบันทึกกล่าวไว้ว่าเราอยู่ภายใต้การครอบครองของอาณาจักรน่านเจ้า
         ที่ตั้ง  ทิศตะวันตกเฉียงเหนือมีพรมแดนติดจีนและพม่า
         พื้นที่  236800 ตารางกิโลเมตร
         เมืองหลวง  นครเวียงจันทน์
         ภูมิอากาศ  ร้อนชื้นมีฝนตกบางประปราย
         ภาษา  ภาษาลาวเป็นภาษาราชการ
         ศาสนา  ศาสนาพุทธ ที่เหลือนับถือศาสนาคริสต์และอิสลาม
         เศรษฐกิจ  เศรษฐกิจของประเทศลาวค่อยๆมีการพัฒนามาอย่างต่อเนื่องโดยมีการเปลี่ยนระบบเศรษฐกิจจากแบบสังคมนิยม มาเป็นระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยมมาเป็นระบบเศรษฐกิจเสรี
ประเทศมาเลเซีย
         ประวัติความเป็นมา  ประเทศมาเลเซียเป็นประเทศที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรมและชนเผ่าที่มารวมกันอยู่ในประเทศ
        9
        ที่ตั้ง  ตั้งอยู่ในเขตเส้นศูนย์สูตร ประกอบด้วยดินแดน 2 ส่วน โดยมีทะเลจีนใต้กั้น
        พื้นที่  330257 ตารางกิโลเมตร
        เมืองหลวง  กรุงกัวลาลัมเปอร์
        ภูมิอากาศ  ร้อนชื้น
         ภาษา  มาเลย์เป็นภาษาราชการ อังฤกษ จีน
         ศาสนา  อิสลาม พุทธ คริสต์ ฮินดู
         เศรษฐกิจ  มาเลเซียเป็นประเทศที่มีระบบเศรษฐกิจแบบเสรีนิยม สินค้าส่งออกที่สำคัญ ได้แก่ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ รวมไปถึงชิ้นส่วนคอมพิวเตอร์
สาธารณรัฐฟิลิปปินส์
         ประวัติความเป็นมา  ในอดีตพื้นที่ของประเทศฟิลิปปินส์ชนเผ่าที่เข้ามาตามรุกรากในฟิลิปปินส์ในตอนแรกนั้น คือมนุษย์โฮโมเซเปียนส์
         ที่ตั้ง  เป็นประเทศหมู่เกาะที่ประกอบด้ยวเกาะจำนวนทั้งสิ้น 7107 เกาะ ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิกฟิก
         พื้นที่  298107 ตารางกิโลเมตร
         เมืองหลวง  กรุงมะนิลา
         ภูมิอากาศ  มรสุมเขตร้อนได้รับความชุ่มชื้นจากลมมรสุมทั้ง 2 ฤดู
         ภาษา  ภาษาฟิลิปิโนและภาษาอังกฤษ
         ศาสนา ศาสนาคริสต์
    10   
       เศรษฐกิจ  เศรษฐกิจชองฟิลิปปินส์ได้ขยายตัวเป็นอย่างมากในช่วงปีก่อนโดยมาจากการลงทุนมาจากภายในประเทศ และการขยายตัวของอุตสาหกรรมด้านบริการต่างๆ
สาธารณรัฐสิงคโปร์
        ประวัติความเป็นมา  แต่เดิมนั้นสิงคโปร์เริ่มเป็นที่รู้จักในช่วงสมัยทศวรรษที่ 13 ของชาวจีน โดยมีชื่อเรียก สิงคโปร์ว่า พูเลาชุง ซึ่งหมายถึง เกาะปลายคาบสมุทร
       ที่ตั้ง  เป็นนครรัฐที่ตั้งอยู่บนเกาะในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้โดยอยู่ทางใต้สุดของคาบสมุทรมาเลย์
          พื้นที่  ประกอบด้วยเกาะสิงคโปร์และเกาะอื่นๆ 697 ตารางกิโลเมตร
          เมืองหลวง  สิงคโปร์
          ภูมิอากาศ  ร้อนชื้น มีฝนตกชุกตลอดปี
          ภาษา  ภาษามาเลย์
          ศาสนา  พุทธ อิสลาม คริสต์ และฮินดู
          เศรษฐกิจ  แม้ว่าสิงคโปร์จะเป็นประเทศที่มีพื้นที่ไม่มากจึงทำให้ไม่มีทรัพยากรธรรมชาติเยอะ
ราชอาณาจักรไทย
          ประวัติความเป็นมา  ประวัติศาสตร์ของไทยนั้นเริ่มต้นขึ้นที่สมัยอาณาจักรสุโขทัยตั้งแต่ พ.ศ 1781 ซึ่งมีพ่อขุนรามคำแหงมหาราชเป็นผู้ปกครองและถือเป็นช่วงที่รุ่งเรืองมากที่สุด
          ที่ตั้ง  ตั้งอยู่บนคาบสมุทรอินโดจีน
          11
        พื้นที่  51311502 ตารางกิโลเมตร
         เมืองหลวง  กรุงเทพมหานคร
         ภูมิอากาศ  พื้นที่ส่วนใหญ่มีอากาศค่อนข้างร้อนสลับฝนตกตามฤดูกาล
         ภาษา  ภาษาไทยเป็นภาษาราชการ
         ศาสนา  ศาสนาพุทธ คริสต์
         เศรษฐกิจ  เศรษฐกิจของไทยเป็นเศรษฐกิจแบบปิดซึ่งมีการค้าขายและแลกเปลี่ยนสินค้าและบริการกับประเทศต่างๆ
สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม
        ประวัติความเป็นมา  ประวัติศาสตร์ของเวียดนามนั้นในตอนต้นเป็นการถูกรุกรานและยึดครองดินแดนจากชนเผ่าของจีนและถูกปกครองโดยจีนมาหลายราชวงศ์
        ที่ตั้ง  เป็นประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีพรมแดนติดกับประเทศจีน ประเทศลาวและกัมพูชา
        พื้นที่  331689 ตารางกิโลเมตร
        เมืองหลวง  กรุงฮานอย
        ภูมิอากาศ  เป็นแบบมรสุมเขตร้อน มีฝนตกชุกในฤดูหนาว
        ภาษา  ภาษาเวียดนามเป็นภาษาราชการ
        ศาสนา  พุทธ คริสต์ มุสลิม
       
        12
       เศรษฐกิจ  เศรษฐกิจของเวียดนามจัดได้ว่ามีอัตราการเจริญเติบโตและขยายตัวที่สูงขึ้นเรื่อยๆ
สาธารณรัฐสหภาพพม่า
         ประวัติความเป็นมา  ประวัติศาสตร์ของพม่าได้เริ่มขึ้นโดยชนชาติที่เข้ามาเป็นกลุ่มแรก คือ มอญ
         ที่ตั้ง  ภูมิประเทศตั้งอยู่ตามแนวอ่าว เบงกอลและทะเลอันดามัน
         พื้นที่  676577 ตารางกิโลเมตร
         เมืองหลวง  เนปีดอ
         ภูมิอากาศ  ร้อนชื้น ฝนตกชุกโดยรวมมีอากาศคล้ายประเทศไทย
         ภาษา  ภาษาพม่าเป็นภาษาราชการ
        ศาสนา ศาสนาพุทธเป็นศาสนาประจำชาติ
        เศรษฐกิจ  เศรษฐกิจของพม่าถือว่ากำลังอยู่ในช่วงกำลังพัฒนาเนื่องด้วยสถานการณ์ความไม่แน่ไม่นอนทางการเมือง





13
บทที่ 3
วิธีดำเนินงาน
    รายงานเรื่อง อาเซียน ผู้จัดทำได้ดำเนินการ ดังนี้
วิธีการดำเนินการ
      รายงานเรื่อง อาเซียน มีวิธีการดำเนินการศึกษาค้นคว้า ดังนี้
      1.ผู้ศึกษานำเสนอหัวข้อโครงงานต่ออาจารย์ที่ปรึกษาเพื่อขอคำแนะนำและกำหนดขอบเขตในการทำโครงงาน
      2.วางแผนประชุมสมาชิกในกลุ่มเพื่อวัตถุประสงค์ที่จะศึกษา
      3.ศึกษาค้นคว้าหาความรู้จากสื่อการเรียนรู้ต่างๆ เช่น หนังสืออาเซียน เว็บไซต์ต่างๆ
      4.สรุปผลการดำเนินงานเพื่อนำเสนอต่อครูที่ปรึกษา







14
บทที่ 4
ความหมายของอาเซียน

            อาเซียน คือ อาเซียนหรือสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เป็นองค์กรระหว่างประเทศระดับภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เพื่อสร้างสันติภาพในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ อันนำมาซึ่งเสถียรภาพทางการเมือง และความเจริญก้าวหน้าทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
ผลการดำเนินการ
            1.ผู้ศึกษามีความรู้และความสามารถเพื่อสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างประเทศในกลุ่มอาเซียน
            2.ผู้ศึกษาสามารถเผยแพร่ผลงาน ข้อมูล ของประเทศสมาชิกอาเซียนในทุกๆ ด้าน
            3.ผู้ศึกษามีความรู้และสามารถที่จะสนับสนุนและส่งเสริมให้ประเทศสมาชิกอาเซียนมีความร่วมมือกันในด้าน เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมประเพณี
            4.ผู้ศึกษามีความรู้ในการขยายขอบเขตการค้าระหว่างประเทศในอาเซียน
            5.ผู้ศึกษาเข้าใจถึงวิธีการส่งเสริมให้ประชาชนในอาเซียนมีคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ที่ดีในทุกๆด้าน



15
บทที่ 5
สรุป อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ
    จากที่คณะผู้จัดทำได้มีความเข้าใจศึกษาเรื่อง อาเซียนตามวัตถุประสงค์เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับอาเซียนได้ศึกษาเนื้อหาเพื่อหาจากหนังสือต่างๆ ได้แก่ หนังสือเรื่องเรียนรู้เรื่องอาเซียน หนังสือสถานีอาเซียน หนังสือเพื่อก้าวสู่ประชาชนอาเซียน และหนังสือเราคืออาเซียน ซึ่งพบว่าอาเซียนมีความสำคัญต่อประเทศสมาชิกทั้ง 10 ประเทศ ในทุกๆด้าน เช่น ด้านการศึกษา ด้านเศรษฐกิจ เป็นต้น
         อภิปรายผล
         จากการศึกษาค้นคว้าโครงงานเรื่องอาเซียน
            อาเซียน คือ อาเซียนหรือสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เป็นองค์กรระหว่างประเทศระดับภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เพื่อสร้างสันติภาพในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ อันนำมาซึ่งเสถียรภาพทางการเมือง และความเจริญก้าวหน้าทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
         ประโยชน์ที่ได้รับ
               1.เกิดความสามัคคีในกลุ่ม
                2.มีความรู้เกี่ยวกับเรื่องอาเซียน
                3.มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความเป็นมาของอาเซียน
           

16
             ข้อเสนอแนะ
            จากการศึกษาอาเซียน ผู้ศึกษามีข้อเสนอแนะเกี่ยวกับโคงงาน คือ
                 1.เนื่องจากเนื้อหาของอาเซียนมีความมากมายในการศึกษา ผู้ศึกษาอาจยกเนื้อหาเกี่ยวกับอาเซียนมาใช้ได้
                  2.ควรมีการจัดทำเป็นหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เผยแพร่ทางเว็บไซต์ในโอกาสต่อไป
                  3.นำผลการศึกษาเรื่องอาเซียนไปสร้างเป็นหนังสือในรูปแบบต่างๆ เช่น นิทาน เรื่องสั้น บทละคร เป็นต้น เพื่อให้เหมาะสมกับผู้รับสาร




























บรรณานุกรม














17
บรรณานุกรม
สทัศน์ –จิรโชติ   สังคะพันธ์
            ภาษาอาเซียน.- กรุงเทพ  : เพชรประกาย, 2556.
ฝ่ายวิชาการปัญญาชน
            ทำมาหากินอย่างไร เมื่อไทยเข้าสู่ประชาคมอาเซียน AEC 2558.
พัชรา  โพธิ์กลาง
            เราคืออาเซียน ประชาคมอาเซียน/ มนต์ชนก  ศาสตร์หนู : วาดภาพประกอบ.-พิมพ์ครั้งที่ 2.-กรุงเทพ : อมรินทร์คอมมิกส์ อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่งม,2555.
จักรพงษ์  จีนะวงษ์
            พวกเราต้องรู้เพื่อก้าวสู่ประชาคมอาเซียน.— นนทบุรี: ธงค์ บียอนด์บุ๊คส์.2556.
            ฝ่ายวิชาการพิมพ์อักษร.พิมพ์คร้งที่ 2.— กรุงเทพ  :อักษรเงินดี.2556




















ภาคผนวก












18

ภาคผนวก
           
 
   

11 ความคิดเห็น:

  1. เดชา: อาเซียนมีกี่ประเทศ และประเทศอะไรบ้างที่อยู่ติดกับประเทศไทย

    ตอบลบ
    คำตอบ
    1. มี 10 ประเทศ กัมพูชา พม่า ลาว เวียดนาม

      ลบ
  2. สุพจน์ : สมาชิกอาเซียนประเทศอะไรมีพื้นที่ใหญ่ที่สุด และสภาพทั่วไปเป็นอย่างไร

    ตอบลบ
  3. นิศา : อาเซียนมีความสำคัญในทุกประเทศในด้านใดบ้างจงอธิบาย

    ตอบลบ
    คำตอบ
    1. 1.ด้านการศึกษา เพราะจะมีการเปิดอาเซียนในด้านต่างๆ
      2.ด้านวัฒธรรม เพราะวัฒธรรมแต่ละประเทศไม่เหมือนกัน
      3.ด้านเศรษฐกิจ เพราะจะได้ไปลงทุนในต่างประเทศได้ง่าย
      4.ด้านสังคม เพราะมีการปกครองประเทศไม่เหมือนกัน

      ลบ
  4. มณฑาทิพย์ : นักเรียนคิดว่าการรวมตัวเป็นหนึ่งเดียวของประเทศอาเซียนเกิดผลดีต่อตัวนักเรียนอย่างไรจงอธิบาย

    ตอบลบ
    คำตอบ
    1. 1.แลกเปลี่ยนด้านกานศึกษา และวัฒนธรรมของประเทศสมาชิกอาเซียน
      2.ช่วยส่งเสริมให้ทุกคนในประเทศในอาเซียนมีคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ในทุกๆด้าน
      3.ส่งเสริมให้ประเทศสมาชิกอาเซียน มีความร่วมมือกันในด้านเศรษฐกิจ

      ลบ
  5. ศิโรรัตน์ : ถ้าในอนาคตนักเรียนมีเงินที่จะลงทุนทำกิจการต่าง ๆ นักเรียนคิดว่านักเรียนอยากลงทุนในประเทศสมาชิกอาเซียนประเทศใดมากที่สุดเพราะอะไร

    ตอบลบ
    คำตอบ
    1. ประเทศสิงค์โปร เพราะมีการเจริญรุ่งเรืองด้านการผลิตเครื่องยนต์

      ลบ
  6. อนงค์นาถ : นักเรียนได้รับประโยชน์อะไรบ้างจากการศึกษาค้นคว้าเรื่องอาเซียนและสามารถนำความรู้นี้ไปใช้ประโยชน์อะไรบ้าง

    ตอบลบ
    คำตอบ
    1. 1.มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความเป็นมาของอาเซียน
      2.มีความรู้เกี่ยวกับเรื่องอาเซียน
      3.เกิดความสามัคคีในกลุ่ม
      นำความรู้เกี่ยวกับอาเซียนที่ได้ไปใช้เมื่อเปิดอาเซียนและสามารถเผยแพร่ความรู้ให้กับผู้อื่นต่อไปได้ เช่น สามารถเล่าความเป็นมาของอาเซียนให้ผู้อื่นฟังได้ เป็นต้น

      ลบ