วันศุกร์ที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557

คำราชาศัพท์ ม.4/5

คำราชาศัพท์
terms of reverence
โดย
                                นาย ชัยชนะ   ศิริสุข       เลขที่ 15
นาย นัฐพงษ์  แผ่นทอง   เลขที่ 16
                                นาย อดิศักดิ์ สุระศร       เลขที่ 20
 นาย วรพงษ์  ผะกาทอง  เลขที่ 22
                                นาย  อนุชา  ไวว่อง         เลขที่ 26
  นาย จิราพงษ์ นะเชิงรัมย์ เลขที่ 27
ชันมัธยมศึกษาปีที่ 4/5
โรงเรียนตานีวิทยา
สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา  เขต 33
รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาค้นคว้ารายวิชา I 30202
การสื่อสารการนำเสนอ (communication and presentation)
                              ประจำภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556

กิตติกรรมประกาศ
                   รายงานเรื่อง คำราชาศัพท์ terms of reverence  ฉบับนี้ได้รับการสนับสนุนจาก นายสมโภชน์  สุขเจริญ ผู้อำนวยการโรงเรียนตานีวิทยาและ   นาย ชัยชนะ   ศิริสุข       นาย นัฐพงษ์  แผ่นทอง      นาย อดิศักดิ์ สุระศร     นาย วรพงษ์  ผะกาทอง    นาย  อนุชา  ไวว่อง       นาย จิราพงษ์ นะเชิงรัมย์  ผู้จัดทำขอกราบขอบพระคุณท่านมา ญ โอกาสนี้

                     ขอขอบพระคุณ  อาจารย์ ปัณพิชชา  บรรเลง ครูที่ปรึกษา ที่ได้คำแนะนำ ละคอยช่วยเหลือในการจัดทำรายงานจนสำเร็จลุล่วง ละขอขอบพระคุณคณะครูทุกท่าน ที่ให้ความช่วยเหลือและคำแนะนำที่เป็นประโยชน์

                       ขอขอบพระคุณบิดามารดาของคณะผู้จัดทำ ที่ให้การสนับสนุนในการศึกษาเล่าเรียน และคอยเป็นกำลังใจให้เสมอมา
                            

                                                                                                                        คณะผู้จัดทำ

                                    







                                                   บทที่ 1
บทนำ
แนวคิดที่มาและคาวามสำคัญ
            คำราชาศัพท์ หมายถึง คำสุภาพที่ต้องการใช้ให้ถูกต้องตามชั้นของบุคคลซึ่งในภาษาไทยจำแนกบุคคลที่ใช่ราชาศัพท์ออกเป็น 5 ชนิด คือ
1.พระราชา
2.เจ้านาย (หมายถึง พระบรมวงศานุวงศ์ตั้งแต่หม่อมเจ้าขึ้นไป)
3.พระภิกษุสามเณร
      4.ข้าราชการ (ทั้งมียศและไม่มียศ)
5.สุภาพชน(หมายถึงบุคคลทั่วไปนอกลาก 4 ประเภทข้างต้น)
             คำราชาศัพท์ที่ใช่แก่พรบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถบุคลภายนอกย่อมมีโอกาสใช้น้อยถ้าถึงคร่าวจำเป็นจะต้องใช้ต้องไปถามผู้รู้ได้รวบรวมไว้ในหนังสื่อเล่มนี้เก็บเฉพาะคำที่ควรรู้และเรียงตามลำดับอักษรเพื่อค้นหาง่ายดังต่อไปนี้
    วัตถุประสงค์
รายงานเรื่องคำราชาศัพท์ มีวัตถุประสงค์ในการศึกษาค้นคว้าดังนี้
     1.เพื่อมีความรู้คำราชาศัพท์
      2.เพื่อให้ผู้นำไปศึกษาคำราชาศัพท์
     ระยะเวลาและสถานที่ดำเนินการ
              รายงาน เรื่อง คำราชาศัพท์ ใช้ระยะเวลาในการศึกษาค้นคว้าตั้งแต่วันที่ 28 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ.2556 ถึง         วันที่  28 เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557  สถานที่ดำเนินการได้แก่
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ได้รับความรู้ เรื่อง คำราชาศัพท์
2.สามารถนำคำราชาศัพท์ไปใช้ในชีวิตประจำวัน
3.ผู้ศึกษามีความกระตือรือร้นมากยิ่งขึ้น
บทที่ 2
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
รายงานเรื่อง คำราชาศัพท์ ผู้จัดทำได้มีการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้อง ดังนี้ 
1.คู่มือการเตรี่ยมสอบ  O-NET  ภาษาไทย ม.3
2.www.hi-ed.co.th
3.www.google.com

สรรพนามที่ใช้แทนผู้พูดที่พูดด้วย  (บุรุษที่ 1 )
                          คำ
                      ผู้ใช้
                     ใช่กับ
เกล้ากระหม่อม
ผู้ชาย
พระองค์เจ้า
เกล้ากระหม่อมฉัน
ผู้หญิง
พระองค์เจ้า


 
สรรพนามที่ใช้แทนผู้พูดที่พูดด้วย  (บุรุษที่ 2 )
คำ
                      ผู้ใช้
                     ใช่กับ
ใต้ฝ่าละลองชุลีพระบาท
เจ้านายหรือบุคคลทั่วไป
พระราชา,พระราชานี,สมเด็จพระบรมราชะนีนาถ











                                                                                                              
บทที่3
ผลการดำเนินการ
รายงานเรื่องคำราชาศัพท์ผู้จัดทำมีผลการดำเนินการ ดังนี้
ผู้ศึกษาได้เลือกสมาชิกในกลุ่มและให้สมาชิกแต่ละคนเสนอหัวข้อที่จะศึกษาค้นคว้าทำรายงานวิชาการและปรึกษาหารือกันคัดเลือกหัวข้อที่ดีที่สุดเพื่อมาศึกษาค้นคว้า
ผลการดำเดินการ
1.ผู้ศึกษานำเสนอหัวข้อโครงงานต่ออาจารย์ที่ปรึกษาเพื่อขอคำแนะนำและกำหนดขอบเขตในการทำโครงงาน
2.ผู้ศึกษาร่วมกันประชุมงานแผนวิเคราะห์ตามหัวข้อวัตถุประสงค์ของโครงงาน
3.ผู้ศึกษาร่วมกันกำหนดบทประพันธ์วรรณคดีหนังสือต่างๆ
4.ศึกษาและเกินรวบรวมข้อมูลปันขั้นตอนของการเกิบรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับรายงานเพื่อพาวิเคราะห์และสรุปเนื้อ
5.นำเสนอผลงานต่ออาจารย์ที่ปรึกษาเพื่อรายงานผลการดำเนินงาน
6.จัดทำคู่มือเพื่อใช้สำหรับศึกษาและรายงานต่ออารย์ที่ปรึกษา











บทที่4
ผลการดำเนินการ
รายงาน เรื่อง คำราชาศัพท์ มีผลการดำเนินการ  ดังนี้
ผลการดำเนินการ
เขียนผลการดำเนินการ ผลการศึกษา ค้นคว้าตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
คำราชาศัพท์ หมายถึง คำสุภาพที่ต้องใช้ให้ถูกต้องตามชั้นของบุคคลซึ้งในภาษาไทยจำแนกบุคลที่ต้องการใช้คำราชาศัพท์ออกเป็น  ๕  ชนิด คือ
1.พระราชา   2.เจ้านาย   3.พระภิกษุสามเณร  4.ข้าราชกาล   5.สุภาพชน
คำราชาศัพท์ที่ใช้แก่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และ สมเด็จพระนางเจ้าฯ  พระบรมราชินีนาถ บุคคลภายนอก ย่อมมีโอกาสใช้น้อยถ้าถึงคราวจำเป็นจะต้องใช้  ต้องไปถามผู้รู้ได้รวบรวม
1.ได้รับความรู้เรื่องคำราชาศัพท์
2.สามมาถนำคำราชาศัพท์ไปใช้ในชีวิตประจำวัน
3.ผู้ศึกษามีความกระตือรือร้นมากยิ่งขึ้น



8 ความคิดเห็น:

  1. ชัยชนะ : ทำไมนักเรียนจึงเลือกที่จะศึกษาค้นคว้าเรื่องคำราชาศัพท์เพราะอะไรจงอธิบาย

    ตอบลบ
    คำตอบ
    1. เพราะ เพื่อให้เกิดความรู้เรื่องคำราชาศัพท์และสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้

      ลบ
  2. นัฐพงษ์ : นักเรียนคิดว่าการศึกษาเรื่องคำราชาศัพท์มีความสำคัญต่อชีวิตประจำวันของนักเรียนมากน้อยเพียงใดจงอธิบาย

    ตอบลบ
  3. อดิศักดิ์ : จงยกตัวอย่างคำราชาศัพท์ที่ใช้กับพระราชามาอย่างน้อย 10 คำ

    ตอบลบ
  4. วรพงษ์ : ให้นักเรียนนำเสนอรายงาน บทที่ 5 เรื่องคำราชาศัพท์ให้ถูกต้อง

    ตอบลบ
  5. อนุชา : ให้นักเรียนเขียนบรรณานุกรมจากหนังสือที่นักเรียนได้ศึกษาค้นคว้าในการทำรายงานเรื่องนี้

    ตอบลบ
  6. จิราพงษ์ : นักเรียนได้รับประโยชน์อะไรจากการศึกษาเรื่องนี้และสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันในเรื่องใดได้บ้างจงยกตัวอย่าง

    ตอบลบ
    คำตอบ
    1. 1.ได้รับความรู้เรื่องคำราชาศัพท์
      2.สามารถนำคำราชาศัพท์ไปใช้ในชีวิตประจำวัน
      3.ผู้ศึกษามีความกระตือรือร้นมากยิ่งขึ้น
      การใช้คำราชาศัพท์ให้เหมาะสมกับบุคคลแต่ละชนชั้น

      ลบ