วันพุธที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557

คำสุภาพ ม.4/4



คำสุภาพ
refined expression

โดย
1. นางสาวขวัญวิลัย        เลาไชย             เลขที่  12
2. นางสาวชนัญชิดา       มียิ่ง                   เลขที่  13
3. นางสาวเพ็ญศิริ          มะลิหอม           เลขที่  18
4. นางสาวรัชนีกร          ซ่ำศาสตร์          เลขที่  19
5. นางสาวศิริการดา       เรืองสุข             เลขที่  20
6. นางสาวอัจฉรา           สุระศร              เลขที่  26
7. นางสาวปานชนก       พยุงดี                 เลขที่  33
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4


โรงเรียนตานีวิทยา
สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33



รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาค้นคว้า รายวิชา I 30202
กรสื่อสารและการนำเสนอ(Communication and Presentation)
ประจำภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556

คำสุภาพ
refined expression


โดย
1. นางสาวขวัญวิลัย        เลาไชย             เลขที่  12
2. นางสาวชนัญชิดา       มียิ่ง                   เลขที่  13
3. นางสาวเพ็ญศิริ          มะลิหอม           เลขที่  18
4. นางสาวรัชนีกร          ซ่ำศาสตร์          เลขที่  19
5. นางสาวศิริการดา       เรืองสุข             เลขที่  20
6. นางสาวอัจฉรา           สุระศร              เลขที่  26
7. นางสาวปานชนก       พยุงดี                 เลขที่  33
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4



โรงเรียนตานีวิทยา
สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33




ครูที่ปรึกษา
นางสาวปัณพิชชา  บรรเลง




กิตติกรรมประกาศ
รายงานเรื่อง คำสุภาพ ฉบับนี้ได้รับการสนับสนุนจาก นายสมโภชน์  สุขเจริญ ผู้อำนวยการโรงเรียนตานีวิทยา ผู้จัดทำขอกราบขอบพระคุณมา ณ โอกาสนี้
ขอขอบพระคุณ นางสาวปัณพิชชา  บรรเลง ครูที่ปรึกษา ที่ได้ให้คำแนะนำและคอยช่วยเหลือในการจัดทำรายงานจนสำเร็จลุล่วง และขอขอบคุณคณะครูทุกท่าน ที่ให้ความช่วยเหลือและให้คำแนะนำที่เป็นประโยชน์
ขอขอบพระคุณ บิดามารดาของคณะผู้จัดทำ ที่ให้การสนับสนุนในการศึกษาเล่าเรียน และคอยเป็นกำลังใจที่ให้เสมอมา
ขอขอบคุณเพื่อนๆ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4 ที่ให้คำแนะนำและเป็นกำลังใจให้เสมอมา จนรายงานเรื่องนี้สำเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี
คณะผู้จัดทำ



สารบัญ 
                                                                                                                                  หน้า
บทที่ 1                                                                                                                                                               1
            แนวคิด ที่มาและความสำคัญ                                                                                                            1
            วัตถุประสงค์                                                                                                                                        2
            ระยะเวลาและสถานที่ดำเนินการ                                                                                                    2
            ผลที่คาดว่าจะได้รับ                                                                                                                             2

บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง                                                                                                                              3
            คำสุภาพที่ควรรู้                                                                                                                                    4

บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน                                                                                                                              13

บทที่ 4 ผลการศึกษาค้นคว้า                                                                                                                            14

บทที่ 5 สรุป อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ                                                                                                  17
            สรุปผลการศึกษา                                                                                                                                   17
            อภิปรายผล                                                                                                                                             17
            ข้อแนะนำ                                                                                                                                               18

บรรณานุกรม                                                                                                                                                       19

ภาคผนวก                                                                                                                                                             21





สารบัญตาราง
                                                                                                                                                 หน้า
ตาราง 1 บทที่ 2                                                                                                                                                        4
ตาราง 2 บทที่ 4                                                                                                                                                       15



บทที่ 1
บทนำ

แนวคิด ที่มาและความสำคัญ
     คำสุภาพ หมายถึง คำราชาศัพท์สำหรับชั้นสุภาพชน เป็นการเปลี่ยนถ้อยคำต่างๆ ให้เหมาะสมสำหรับสื่อสาร
กับผู้ที่อาวุโสกว่า คำที่ได้ยินแล้วน่าฟัง ชวนฟังเป็นถ้อยคำที่เหมาะสม ลักษณะของคำสุภาพ เป็นคำที่ไม่เป็นคำหยาบไม่เป็นคำที่ได้ยินแล้วไม่น่าฟัง ไม่เป็นคำกระด้างไม่เป็นคำที่สั้นหรือห้วนไปเป็นคำที่พูดผวนแล้วไม่หยาบเป็นคำที่ไม่นิยมเปรียบกับของหยาบเป็นคำที่ยืมมาจากภาษาบาลี สันสกฤต และเขมร และเป็นคำที่เมื่อผู้พุดแล้วทำให้ผู้ฟังรู้สึกดี เพราะเป็นคำที่ไม่หยาบ ดังนั้นควรที่จะศึกษาเรื่องคำสุภาพไว้ เมื่อไปพูดกับบุคคลอื่นก็จะทำให้คำพูดเราน่าฟังและไม่หยาบคาย เพื่อให้ผู้ฟังรู้สึกดีเมื่อได้พุดกับเรา และคนที่พูดกับเราก็จะมองว่าเราเป็นคนที่ดี มีระเบียบ มีวินัย คำสุภาพก็สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน ในการศึกษาและใช้ในการประกอบอาชีพในอนาคตได้
คำสุภาพ  ถ้อยคำต่างๆที่เราพูดจากันโดยทั่วไปนั้น บางคำก็มิควรจะกราบบังคมทูลบางคำก็ควร ถ้าหากคำใดมิควรเราจำเป็นต้องเปลี่ยนแปลงเสียให้เหมาะสม การเปลี่ยนแปลงถ้อยคำต่างๆให้เหมาะสม การเปลี่ยนแปลงถ้อยคำต่างๆให้เหมาะสมนี่เราเรียกว่า คำสุภาพคำสุภาพเป็นส่วนหนึ่งของราชาศัพท์ ซึ่งมีลักษณะที่ควรสังเกตดังต่อไปนี้
    1. ไม่ควรใช้ถ้อยคำอุทานที่ไม่สุภาพ เช่น โว้ย เว้ย หรือคำสาบานที่หยาบคาย เช่น ให้ตายห่า ให้ฉิบหาย หรือพูดกระชากเสียง เช่น เปล่า ไม่ใช่ เป็นต้น
    2. ไม่ควรใช้คำที่ถือว่าหยาบคายคือ
         2.1. คำว่า ไอ้ควรใช้สิ่งแทนเช่น ไอ้นี่ได้นั้น ควรเป็นสิ่งนี้ สิ่งนั้นหรือตัดคำว่าไอ้ทิ้งเสียเลย เช่น ปลาไอ้บ้า เป็นปลาบ้า
         2.2. คำว่า อีควรใช้คำว่านางเช่น อีเห็น เป็นนางเห็น อีเลิ้ง เป็นนางเลิ้ง
         2.3. คำว่า     “ขี้ควรใช้คำว่า อุจจาระหรือ คูถแทนหรือบางที่ตัดออกเสียเลย ก็ได้ เช่น ดอกขี้เหล็ก เป็นดอกเหล็ก หรือเปลี่ยนเสียก็ได้ เช่น ขี้มูกเป็นน้ำมูก ขนมขี้หนู เป็นขนมทราย
        2.4. คำว่า เยียวควรใช้คำว่า ปัสสาวะหรือ มูตรแทน
    3.ไม่ควรใช้คำผวน  หรือใช้คำใดก็ตามเมื่อผวนหางเสียงหรือท้ายคำกลับมาไว้ข้างหน้าแล้ว คำนั้นจะเป็นคำที่ไม่สุภาพทันที เช่น คุณหมอจ๋า ผวนเป็นคุณหมาจ๋อ เป็นต้น
    ในเรื่อง คำหยาบและคำสุภาพนั้น ม.ล. ปีย์ มาลากุล ได้กล่าวไว้ในหนังสือ การใช้ถ้อยคำและราชาศัพท์ว่าเมื่อกล่าวถึง คำหยาบและคำ สุภาพนั้นความหมายที่แท้จริงของคำหยาบหาใช่หมายถึงเฉพาะคำโลนหรือคำที่ใช้ในการกล่าวผรุสวาจาเท่านั้นไม่ ที่ถูกแล้วน่าจะเรียกคำสามัญ และคำวิสามัญ มากกว่า เช่น คำว่ามือ ตีน กิน เดิน นอน ก็ไม่น่าจะเป็นคำหยาบอะไรแต่คำเหล่านี้ไปใช้พูดกับคนที่อาวุโสกว่าคำเหล่านั้นถือเป็นคำหยาบ ต้องเปลี่ยนใช้คำอื่น เช่น จะพูดว่า ตีนก็ต้องเปลี่ยนเป็น เท้าเป็นต้น

การใช้ถ้อยคำสุภาพ 
       เป็นการเลือกใช้คำให้ถูกต้องเหมาะสม กับบุคคลและตามกาลเทศะ  กฎเกณฑ์การใช้คำสุภาพ ไม่มีกำหนดตายตัว บางคำ ใช้ในภาษาพูด บางคำก็ใช้ในภาษาเขียน
ลักษณะของถ้อยคำสุภาพ 
        1. ไม่เป็นคำหยาบหรือคำด่า
        2. ไม่เป็นคำอุทานที่ไม่แสดงความเคารพ
        3. ไม่เป็นคำผวนที่มีความหมายหยาบคาย
        4. ไม่เป็นคำห้วนหรือคำกระด้าง
        5. ไม่เป็นคำแสลงหรือคำคะนอง 
        6. ไม่เป็นคำภาษาต่างประเทศ
แนวการใช้คำสุภาพ 
        1. เปลี่ยนคำพูดกลาง ๆ เป็นคำสุภาพ เช่น ไม่กิน เปลี่ยนเป็นไม่รับประทาน
        2. ใช้คำว่า ครับ หรือ ค่ะ ลงท้ายประโยคเสมอ
        3. เลี่ยงคำพูดที่ทำให้ผู้ฟังฟังแล้วไม่สบายใจ

วัตถุประสงค์
1) เพื่อศึกษาเกี่ยวกับคำสุภาพ
2) เพื่อศึกษาการใช้คำสุภาพ
3) เพื่อศึกษาประโยชน์ของคำสุภาพ

ระยะเวลาและสถานที่ดำเนินการ
      รายงานเรื่อง คำสุภาพ ใช้ระยะเวลาในการศึกษาค้นคว้า ตั้งแต่วันที่ 22 เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2556 ถึงวันที่ 31 เดือนธันวาคม พ.ศ. 2556
      สถานที่ดำเนินการ ได้แก่ โรงเรียนตานีวิทยา และบ้านเดื่อพัฒนา

ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1) ได้รู้ความหมายของคำสุภาพ
2) ได้รู้เกี่ยวกับการใช้คำสุภาพ
3) ได้รู้เกี่ยวกับประโยชน์ของคำสุภาพ




บทที่ 2
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
        คำสุภาพ หมายถึง คำที่ได้ยินแล้วน่าฟัง ชวนฟังเป็นถ้อยคำที่เหมาะสม ลักษณะของคำสุภาพ เป็นคำที่ไม่เป็นคำหยาบไม่เป็นคำที่ได้ยินแล้วไม่น่าฟัง ไม่เป็นคำกระด้างไม่เป็นคำที่สั้นหรือห้วนไปเป็นคำที่พูดผวนแล้วไม่หยาบเป็นคำที่ไม่นิยมเปรียบกับของหยาบเป็นคำที่ยืมมาจากภาษาบาลี สันสกฤต และเขมร และเป็นคำที่เมื่อผู้พุดแล้วทำให้ผู้ฟังรู้สึกดี เพราะเป็นคำที่ไม่หยาบ ดังนั้นควรที่จะศึกษาเรื่องคำสุภาพไว้ เมื่อไปพูดกับบุคคลอื่นก็จะทำให้คำพูดเราน่าฟังและไม่หยาบคาย เพื่อให้ผู้ฟังรู้สึกดีเมื่อได้พุดกับเรา และคนที่พูดกับเราก็จะมองว่าเราเป็นคนที่ดี มีระเบียบ มีวินัย คำสุภาพก็สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน ในการศึกษา และใช้ในการประกอบอาชีพในอนาคตได้
      คำสุภาพ  ถ้อยคำต่างๆที่เราพูดจากันโดยทั่วไปนั้น บางคำก็มิควรจะกราบบังคมทูลบางคำก็ควร ถ้าหากคำใดมิควรเราจำเป็นต้องเปลี่ยนแปลงเสียให้เหมาะสม การเปลี่ยนแปลงถ้อยคำต่างๆให้เหมาะสม การเปลี่ยนแปลงถ้อยคำต่างๆให้เหมาะสมนี่เราเรียกว่า คำสุภาพคำสุภาพเป็นส่วนหนึ่งของราชาศัพท์ ซึ่งมีลักษณะที่ควรสังเกตดังต่อไปนี้
    1. ไม่ควรใช้ถ้อยคำอุทานที่ไม่สุภาพ เช่น โว้ย เว้ย หรือคำสาบานที่หยาบคาย เช่น ให้ตายห่า ให้ฉิบหาย หรือพูดกระชากเสียง เช่น เปล่า ไม่ใช่ เป็นต้น
    2. ไม่ควรใช้คำที่ถือว่าหยาบคายคือ
         2.1. คำว่า ไอ้ควรใช้สิ่งแทนเช่น ไอ้นี่ได้นั้น ควรเป็นสิ่งนี้ สิ่งนั้นหรือตัดคำว่าไอ้ทิ้งเสียเลย เช่น ปลาไอ้บ้า เป็นปลาบ้า
         2.2. คำว่า อีควรใช้คำว่านางเช่น อีเห็น เป็นนางเห็น อีเลิ้ง เป็นนางเลิ้ง
         2.3. คำว่า     “ขี้ควรใช้คำว่า อุจจาระหรือ คูถแทนหรือบางที่ตัดออกเสียเลย ก็ได้ เช่น ดอกขี้เหล็ก เป็นดอกเหล็ก หรือเปลี่ยนเสียก็ได้ เช่น ขี้มูกเป็นน้ำมูก ขนมขี้หนู เป็นขนมทราย
        2.4. คำว่า เยียวควรใช้คำว่า ปัสสาวะหรือ มูตรแทน
    3.ไม่ควรใช้คำผวน  หรือใช้คำใดก็ตามเมื่อผวนหางเสียงหรือท้ายคำกลับมาไว้ข้างหน้าแล้ว คำนั้นจะเป็นคำที่ไม่สุภาพทันที เช่น คุณหมอจ๋า ผวนเป็นคุณหมาจ๋อ เป็นต้น
    ในเรื่อง คำหยาบและคำสุภาพนั้น ม.ล. ปีย์ มาลากุล ได้กล่าวไว้ในหนังสือ การใช้ถ้อยคำและราชาศัพท์ว่าเมื่อกล่าวถึง คำหยาบและคำ สุภาพนั้นความหมายที่แท้จริงของคำหยาบหาใช่หมายถึงเฉพาะคำโลนหรือคำที่ใช้ในการกล่าวผรุสวาจาเท่านั้นไม่ ที่ถูกแล้วน่าจะเรียกคำสามัญ และคำวิสามัญ มากกว่า เช่น คำว่ามือ ตีน กิน เดิน นอน ก็ไม่น่าจะเป็นคำหยาบอะไรแต่คำเหล่านี้ไปใช้พูดกับคนที่อาวุโสกว่าคำเหล่านั้นถือเป็นคำหยาบ ต้องเปลี่ยนใช้คำอื่น เช่น จะพูดว่า ตีนก็ต้องเปลี่ยนเป็น เท้าเป็นต้น


  คำสุภาพที่ควรรู้
คำสามัญ
คำสุภาพ
กล้วยไข่
กล้วยเปลือกบาง
กะปิ
เยื่อเคย
กิน
รับประทาน
เกือก
รองเท้า
ขนมใส่ไส้
ขนมสอดไส้
ขี้
อุจจาระ
ขี้
คูถ
ขี้
มูล
ขี้สัตว์
มูลสัตว์
ขนมขี้หนู
ขนมทราย
ขนมจีน
ขนมเส้น
ขนมตาล
ขนมทองฟู
ขนมเทียน
ขนมบัวสาว
ผัว
สามี
ผัว
สวามี
พริกขี้หนู
พริกเม็ดเล็ก
ฟักทอง
ฟักเหลือง
ควาย
กระบือ
ดอกขี้เหล็ก
ดอกเหล็ก
ดอกซ่อนชู้
ดอกซ่อนกลิ่น
ดอกนมแมว
ดอกถันวิฬาร
ดอกสลิด
ดอกขจร
ต้นตำแย
ต้นอเนกคุณ
ตีน
เท้า
แตงโม
ผลอุลิด
ถั่วงอก
ถั่วเพาะ
ปลาช่อน
ปลาหาง
ปลาสลิด
ปลาขจร
ปลาสลิด
ปลาใบไม้
ปลาไหล
ปลายาว
ผักกระเฉด
ผักรู้นอน
ผักตบ
ผักสามหาว
ผักบุ้ง
ผักทอดยอด
มะเขือยาว
มะเขืองาช้าง
เมีย
ภรรยา
น้ำเยี่ยว
ปัสสาวะ
น้ำเยี่ยว
มูตร
ลิง
วานร
ลิง
วานรินทร์
วัว
โค
สัตว์ออกลูก
สัตว์ตกลูก
สากกระเบือ
ไม้ตีพริก
ไส้เดือน
รากดิน
หมา
สุนัข
หมา
สุวาน
หมา
โสณ
หมา
ศวา
หมา
ศวาน
หมู
สุกร
หัว
ศีรษะ
หิน
ศิลา
เห็ดโคน
เห็นปลวก
ออกลูก
คลอดลูก
อีกา
กา
อีกา
นกกา
กระต่าย
ศศะ
กระต่าย
ศาศะ
กระต่าย
ศศิ
กล้วยกุ
กล้วยสั้น
กล้วยบวชชี
นารีจำศีล
กวาง, เนื้อสมัน
มฤค
เนื้อสมันตัวผู้
มฤคา
เนื้อสมันตัวเมีย
มฤคี
การต้อนรับ
ปฏิสันถาร
ขี้นก
มูลสกุณชาติ
ขี้ผึ้ง
สีผึ้ง
งู
สัปปะ
งู
อุรค
ช้าง
คช
ช้าง
คชสาร
ช้าง
คชา
ช้าง
เอราวัณ
ช้าง
ไอยรา
ดอกนมสวรรค์
ดอกพนมสวรรค์
ดอกยี่หุบ
ดอกมณฑาขาว
ดอกอีนูน
ดอกนางนูน
ดอกจันทร์แดง
ดอกรัตนจันทร์
เต่า
จิตรจุล
ปลิง
ชลูกา
ปลิง
ชัลลุกะ
ปลิง
ชัลลุกา
มะเขือกำหำแพะ
มะเขือเผา
แมลงต่างๆ
       กีฏ (กี ตะ)
แมลง
       มักขิกา
ไม้เกาหลัง
       นารายณ์หัตถ์
ลูกตะลิงปลิง
ผลมูลละมั่ง
ลูกมะม่วง
ผลอัมพวา
ใส่กุญแจ
ลั่นกุญแจ
หมอตำแอ
แพทย์ผดุงครรภ์
หนู
มุสิก
หมาจิ้งจอก
ศฤคาล
หมาจิ้งจอก
สิงคาล
หัวปลี
ปลีกล้วย
ไหวพริบ
ปฏิภาณ
ใส่กลอน
ขัดกลอน
ม้า
อัศวะ
ม้า
อัสตร
ม้า
อาสา
ม้า
อศณ
ม้า
พาชี
ม้า
อาชา
ผี
ปีศาจ
แมว
มัชชาร
แมว
วิฬา
แมว
วิฬาร์
ปลา
มัจฉะ
ปลา
มัจฉา
ปลา
มัศยา
ปลาร้า
ปลามัจฉะ
ครกกระเบือ
ครกตีพริก
สี่ตัว
สองคู่
ตีน
เท้า
สามตัว
ครบสาม
อ้วก
อาเจียน
ตากแดด
ผึ่งแดด
ไข่ไก่
ฟองไก่
ช้างสีดอ
ช้างนรการ
ข้างสีดอ
พลายนรการ
ต้นพุงดอ
ต้นหนามรอบข้อ
ดอกมะลิ
ดอกมัลลิกา
อีแร้ง
นกแร้ง
อีแร้ง
แร้ง
สัตว์ขี้
สัตว์ถ่ายมูล
สองบาท
แปดสลึง
สองสลึง
ห้าสิบสตางค์
ลูกไม้
ผลไม้
ลูกขี้กา
ผลมูลกา
ผักปลาบ
ผักไห่
ฝีดาษ
ไข้ทรพิษ
บุตรคนหัวปี
บุตรต้นปี
บุตรคนหัวปี (เจ้านาย)
บุตรคนโต
บางอีร้า
บางนางร้า
นกอีลุ้ม
นางลุ้ม
นกอีลุ้ม
นกนางลุ้ม
ที่ห้า
ครบห้า
ที่หก
ครบหก
เถาหมามุ้ย
เถามุ้ย
เถาย่านาง
เถาวัลย์เขียว
ตึกแปด
อาคารแปด
ตีอวน
วางอวน
ช้างตัวผู้
พลาย
ช้างตัวเมีย
พัง
ช้างตัวเมีย
กรินี
ช้างตัวเมีย
หัตถินี
ควาญช้าง
คชาชีพ
ช้างทรง
คชาธาร
เครื่องประดับช้าง
คชาภรณ์
พญาช้าง
คชินทร์
สัตย์สี่เท้า
จตุบท
สัตย์สี่เท้า
จตุบาท
ถั่วดำต้มหวาน
จรกาลงสรง
ใส่ตรวน
จองจำ
ใส่คุก
จำคุก
ข้างแม่แปรก
ช้างแม่พนัก
ต้นขี้ครอก
ต้นกระชิบ
ต้นทองหลาง
ต้นปาริฉัตร
ต้นทองกวาว
ต้นปริชาต
ขี้ตืด
ตระหนี่
ขี้บุหรี่
เถ้าบุหรี่
ใส่ยา
ทายา
ผู้ต้อนรับ
ปฏิคม
การซ่อมแซม
ปฏิสังขรณ์
ไข่
ฟอง
ขอทาน
ยาจก
กลางเดือน
ราตรี
หญิงงานเมือง
โสเภณี
แกะตัวผู้
อุรณ 
แกะตัวเมีย
อุรณี
ใส่ขวด
กรอกขวด
ใส่หม้อ
กรอกหม้อ
ใส่ไห
กรอกไห
ควายขี้
กระบือถ่ายมูล
ใส่กระดุม
กลัดกระดุม
โรคห่า
กาฬโรค
ช้างขี้
กุญชรถ่ายมูล
ขี้ฝอย
กุมฝอย
สองบาท
กึ่งตำลึง
ใส่กรง
ขังกรง
ใส่ตะราง
ขังตะราง
ใส่เล้า
ขังเล้า
ใส่กระดุม
ขัดดุม
ใส่ยุ้ง
ขึ้นยุ้ง
ทวารเบาของหญิง
ช่องคลอด
ดอกผักบุ้ง
ดอกทอดยอด
ดอกผักตบ
ดอกสามหาว
สัตว์ออกลูก
ตกลูก
ต้นอีเกร็ง
ต้นเหงือกปลาหม้อ
ใส่หมุด
ตรึงหมุด
เถาตูดหมูตูดหมา
เถากระพังโหม
เถานมพิจิตร
เถาถันพิจิตร
เถานมช้าง
เถาถันหัตถินี
เถาหัวลิง
เถาศีรษะวานร
อ้วน
ทรงพ่วงพี
สัตว์สองเท้า
ทวิบท
สัตว์สองเท้า
ทวิบาท
นก
ทิชากร
กลางวัน
ทิพา
นกเค้าแมว
  นกอุลูก (อุ ลู กะ)
อีเลิ้ง
นางเลิ้ง
อีเห็น
นางเห็น
ใส่กระสุนปืน
บรรจุกกระสุม
ใส่ถัง
บรรจุถัง
ใส่เกวียน
บรรทุกเกวียน
ใส่ต่าง
บรรทุกต่าง
ใส่รถ
บรรทุกรถ
ใส่เรือ
บรรทุกเรือ
บางชีหน
บางชีโพ้น
การเคลื่อนไหวตอบ
ปฏิกิริยา
สิ่งน่าเกลียด
ปฏิกูล
การให้คำมั่นสัญญา
ปฏิญาณ
ปลาลิ้นหมา
ปลาลิ้นสุนัข
ปลาช่อนเป็น
ปลาหางสด
ปลาช่อนตากแห้ง
ปลาหางแห้ง
ใส่ปิ่น
ปักปิ่น
นกตัวผู้
ปักษา
นก
ปักษิณ
นกตัวเมีย
ปักษี
จับไข้
เป็นไข้
ลูก
ผล
ลูกอีนูน
ผลนางนูน
ผักอีริ้น
ผักนางริ้น
ผักปอด
ผักปัปผาสะ
ช้างทรง
พระกุญชร
ช้างทรง
พระคชาธาร
ช้างแม่แปรก
พังแม่หมัก
ม้า
พาชี
สัตว์ที่ดุร้าย
พาฬมฤค
สัตว์ร้ายที่กินเนื้อสัตว์เป็นอาหาร
พาฬมฤค
แมลงวัน
มักขิกา
ขี้ควาย
มูลกระบือ
ขี้ช้าง
มูลกุญชร
ขี้ครั่ง
มูลครั่ง
ขี้วัว
มูลโค
ขี้ดิน, กองดิน
มูลดิน
ไม่มี
ไม่มีหามิได้
ขี้เกลื้อน
โรคเกลื้อน
โรคลมชักขากรรไกรแข้ง
โรคมหาสดมภ์
โรคเสมหะแห้งในปอด
โรคมองคร่อ
ขี้เรื้อน
โรคเรื้อน
เป็นหวัด
โรคหวัด
ใส่กระโถน
ลงกระโถน
ใส่หลุม
ลงหลุม
ดอกลั่นทม
ลั่นทม
ขึงตาข่ายดักสัตว์
วางข่าย
สัตว์ออกไข่
วางไข่
ตกปลา
วางเบ็ด
ขอทาน (โดยร้องเพลงขอทาน)
วณิพก
โรคฝีในท้อง
วัณโรค
ใส่ตะกร้า
ไว้ในตะกร้า
บวม
โศถะ
นก
สกุณ
นกตัวผู้
สกุณา
นกตัวเมีย
สกุณี
ลูกนก
สกุณโปดก
ใส่กำไล
สวมกำไล
ใส่เกี้ยว
สวมเกี้ยว
ใส่เสื้อ
สวมเสื้อ
ใส่หมวก
สวมหมวก
เจ็ดโยชน์
สองพันแปดร้อยเส้น
ใส่หมุด
สอดหมุด
สี่หน
สี่ครั้ง
แปดตัว
สี่คู่
หอยอีรม
หอยนางรม
มิได้
หามิได้
ไม่พบ
หาไม่พบ
โลงศพ
หีบศพ
สมควร
เห็นสมควร
แน่นเหนียว
เหนียวแน่น
เหนี่ยวอีรุ้ง
เหนี่ยวนางรุ้ง
ยักษ์
อสูร
โรคลงราก
อหิวาตกโรค



บทที่ 3
วิธีการดำเนินงาน

ขั้นตอนการดำเนินงาน
      1) ผู้ศึกษานำเสนอหัวข้อรายงานต่ออาจารย์ที่ปรึกษาเพื่อขอคำแนะนำลำกำหนดขอบเขตในการทำรายงาน
      2) ผู้ศึกษาร่วมกันประชุมวางแผนวิเคราะห์ตามหัวข้อวัตถุประสงค์ของรางาน
      3) ผู้ศึกษาร่วมกันค้นคว้าจากหนังสือและเว็บไซด์ต่างๆ ดังนี้
             หนังสือ  คู่มือ ภาษาไทย
             หนังสือ  พจนานุกรมไทย ฉบับนักเรียนนักศึกษา
             http://krupiyarerk.wordpress.com
             http://guru.sanook.com
             http://www.dutjai.de/WB002.html
      4) ศึกษาและเก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อนำมาวิเคราะห์และสรุปเนื้อหา
      5) นำเสนอผลงานต่ออาจารย์ที่ปรึกษาเพื่อรายงานผลการดำเนินงาน

อุปกรณ์และวัสดุที่ใช้ในการศึกษา
1) ปากกา
2) ไม้บรรทัด
3) ดินสอ
4) ยางลบ
5) ปากกาลบคำผิด
6) คอมพิวเตอร์ (โน้ตบุ๊ก)
7) กระดาษ A4
8) เครื่องปริ้นเตอร์
9) สันปก








บทที่ 4
ผลการศึกษาค้นคว้า

ผลการศึกษาค้นคว้า
       คำสุภาพ หมายถึง คำที่ได้ยินแล้วน่าฟัง ชวนฟังเป็นถ้อยคำที่เหมาะสม ลักษณะของคำสุภาพ เป็นคำที่ไม่เป็นคำหยาบไม่เป็นคำที่ได้ยินแล้วไม่น่าฟัง ไม่เป็นคำกระด้างไม่เป็นคำที่สั้นหรือห้วนไปเป็นคำที่พูดผวนแล้วไม่หยาบเป็นคำที่ไม่นิยมเปรียบกับของหยาบเป็นคำที่ยืมมาจากภาษาบาลี สันสกฤต และเขมรและเป็นคำที่เมื่อผู้พุดแล้วทำให้ผู้ฟังรู้สึกดี เพราะเป็นคำที่ไม่หยาบ ดังนั้นควรที่จะศึกษาเรื่องคำสุภาพไว้ เมื่อไปพูดกับบุคคลอื่นก็จะทำให้คำพูดเราน่าฟังและไม่หยาบคาย เพื่อให้ผู้ฟังรู้สึกดีเมื่อได้พุดกับเรา และคนที่พูดกับเราก็จะมองว่าเราเป็นคนที่ดี มีระเบียบ มีวินัย คำสุภาพก็สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน ในการศึกษา และใช้ในการประกอบอาชีพในอนาคตได้
คำสุภาพ  ถ้อยคำต่างๆที่เราพูดจากันโดยทั่วไปนั้น บางคำก็มิควรจะกราบบังคมทูลบางคำก็ควร ถ้าหากคำใดมิควรเราจำเป็นต้องเปลี่ยนแปลงเสียให้เหมาะสม การเปลี่ยนแปลงถ้อยคำต่างๆให้เหมาะสม การเปลี่ยนแปลงถ้อยคำต่างๆให้เหมาะสมนี่เราเรียกว่า คำสุภาพคำสุภาพเป็นส่วนหนึ่งของราชาศัพท์ ซึ่งมีลักษณะที่ควรสังเกตดังต่อไปนี้
    1. ไม่ควรใช้ถ้อยคำอุทานที่ไม่สุภาพ เช่น โว้ย เว้ย หรือคำสาบานที่หยาบคาย เช่น ให้ตายห่า ให้ฉิบหาย หรือพูดกระชากเสียง เช่น เปล่า ไม่ใช่ เป็นต้น
    2. ไม่ควรใช้คำที่ถือว่าหยาบคายคือ
         2.1. คำว่า ไอ้ควรใช้สิ่งแทนเช่น ไอ้นี่ได้นั้น ควรเป็นสิ่งนี้ สิ่งนั้นหรือตัดคำว่าไอ้ทิ้งเสียเลย เช่น ปลาไอ้บ้า เป็นปลาบ้า
         2.2. คำว่า อีควรใช้คำว่านางเช่น อีเห็น เป็นนางเห็น อีเลิ้ง เป็นนางเลิ้ง
         2.3. คำว่า     “ขี้ควรใช้คำว่า อุจจาระหรือ คูถแทนหรือบางที่ตัดออกเสียเลย ก็ได้ เช่น ดอกขี้เหล็ก เป็นดอกเหล็ก หรือเปลี่ยนเสียก็ได้ เช่น ขี้มูกเป็นน้ำมูก ขนมขี้หนู เป็นขนมทราย
        2.4. คำว่า เยียวควรใช้คำว่า ปัสสาวะหรือ มูตรแทน
    3.ไม่ควรใช้คำผวน  หรือใช้คำใดก็ตามเมื่อผวนหางเสียงหรือท้ายคำกลับมาไว้ข้างหน้าแล้ว คำนั้นจะเป็นคำที่ไม่สุภาพทันที เช่น คุณหมอจ๋า ผวนเป็นคุณหมาจ๋อ เป็นต้น
    ในเรื่อง คำหยาบและคำสุภาพนั้น ม.ล. ปีย์ มาลากุล ได้กล่าวไว้ในหนังสือ การใช้ถ้อยคำและราชาศัพท์ว่าเมื่อกล่าวถึง คำหยาบและคำ สุภาพนั้นความหมายที่แท้จริงของคำหยาบหาใช่หมายถึงเฉพาะคำโลนหรือคำที่ใช้ในการกล่าวผรุสวาจาเท่านั้นไม่ ที่ถูกแล้วน่าจะเรียกคำสามัญ และคำวิสามัญ มากกว่า เช่น คำว่ามือ ตีน กิน เดิน นอน ก็ไม่น่าจะเป็นคำหยาบอะไรแต่คำเหล่านี้ไปใช้พูดกับคนที่อาวุโสกว่าคำเหล่านั้นถือเป็นคำหยาบ ต้องเปลี่ยนใช้คำอื่น เช่น จะพูดว่า ตีนก็ต้องเปลี่ยนเป็น เท้าเป็นต้นการใช้ถ้อยคำสุภาพ 
       เป็นการเลือกใช้คำให้ถูกต้องเหมาะสม กับบุคคลและตามกาลเทศะ  กฎเกณฑ์การใช้คำสุภาพ ไม่มีกำหนดตายตัว บางคำ ใช้ในภาษาพูด บางคำก็ใช้ในภาษาเขียน
ลักษณะของถ้อยคำสุภาพ 
        1. ไม่เป็นคำหยาบหรือคำด่า
        2. ไม่เป็นคำอุทานที่ไม่แสดงความเคารพ
        3. ไม่เป็นคำผวนที่มีความหมายหยาบคาย
        4. ไม่เป็นคำห้วนหรือคำกระด้าง
        5. ไม่เป็นคำแสลงหรือคำคะนอง 
        6. ไม่เป็นคำภาษาต่างประเทศ
แนวการใช้คำสุภาพ 
        1. เปลี่ยนคำพูดกลาง ๆ เป็นคำสุภาพ เช่น ไม่กิน เปลี่ยนเป็นไม่รับประทาน
        2. ใช้คำว่า ครับ หรือ ค่ะ ลงท้ายประโยคเสมอ
        3. เลี่ยงคำพูดที่ทำให้ผู้ฟังฟังแล้วไม่สบายใจ
ตัวอย่างเช่น
คำสามัญ
คำสุภาพ
กล้วยไข่
กล้วยเปลือกบาง
กะปิ
เยื่อเคย
ขนมจีน
ขนมเส้น
ขนมตาล
ขนมทองฟู
ขนมเทียน
ขนมบัวสาว
ถั่วงอก
ถั่วเพาะ
ดอกซ่อนชู้
ดอกซ่อนกลิ่น
ต้นตำแย
ต้นอเนกคุณ
เห็ดโคน
เห็นปลวก
กระต่าย
ศศะ
กระต่าย
ศศิ
ปลาช่อน
ปลาหาง
ผักบุ้ง
ผักทอดยอด
ผักกระเฉด
ผักรู้นอน
มะเขือยาว
มะเขืองาช้าง
กวาง, เนื้อสมัน
มฤค
หอยอีรม
หอยนางรม
เหนี่ยวอีรุ้ง
เหนี่ยวนางรุ้ง
ยักษ์
อสูร
โรคลงราก
อหิวาตกโรค
ขอทาน
ยาจก
กลางเดือน
ราตรี
หญิงงานเมือง
โสเภณี
ม้า
อาชา
ผี
ปีศาจ
แมว
มัชชาร
การเคลื่อนไหวตอบ
ปฏิกิริยา
สิ่งน่าเกลียด
ปฏิกูล
การให้คำมั่นสัญญา
ปฏิญาณ
ใส่หมวก
สวมหมวก
ดอกผักตบ
ดอกสามหาว
สัตว์ออกลูก
ตกลูก

















บทที่ 5
สรุป อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ

       รายงานเรื่อง  คำสุภาพ  สามารถสรุปและอภิปรายผลการดำเนินการ ดังนี้
สรุปผลการศึกษา
       จากการทำรายงานวิชา IS2 (การสื่อสารและการนำเสนอ) เรื่องคำสุภาพได้ที่การศึกษาเกี่ยวกับคำสุภาพ       ทำให้ผู้ศึกษาได้รับความรู้เกี่ยวกับคำสุภาพมากขึ้น อีกทั้งยังสามารถ นำความรู้ที่ได้ไปใช้ในโอกาสต่างๆ ในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสม
       การจัดทำรายงานเรื่อง คำสุภาพ สามารถสรุปได้ ดังนี้
       1) ได้รับความรู้เกี่ยวกับคำสุภาพ
       2) สามารถใช้คำสุภาพได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
       3) สามารถนำคำสุภาพไปใช้ประโยชน์ได้ในชีวิตประจำวันได้

อภิปรายผล
        จากการศึกษาค้นคว้ารายงานเรื่อง การศึกษาคำสุภาพ
     คำสุภาพ หมายถึง คำที่ได้ยินแล้วน่าฟัง ชวนฟังเป็นถ้อยคำที่เหมาะสม ลักษณะของคำสุภาพ เป็นคำที่ไม่เป็นคำหยาบไม่เป็นคำที่ได้ยินแล้วไม่น่าฟัง ไม่เป็นคำกระด้างไม่เป็นคำที่สั้นหรือห้วนไปเป็นคำที่พูดผวนแล้วไม่หยาบเป็นคำที่ไม่นิยมเปรียบกับของหยาบเป็นคำที่ยืมมาจากภาษาบาลี สันสกฤต และเขมร และเป็นคำที่เมื่อผู้พุดแล้วทำให้ผู้ฟังรู้สึกดี เพราะเป็นคำที่ไม่หยาบ ดังนั้นควรที่จะศึกษาเรื่องคำสุภาพไว้ เมื่อไปพูดกับบุคคลอื่นก็จะทำให้คำพูดเราน่าฟังและไม่หยาบคาย เพื่อให้ผู้ฟังรู้สึกดีเมื่อได้พุดกับเรา และคนที่พูดกับเราก็จะมองว่าเราเป็นคนที่ดี มีระเบียบ มีวินัย คำสุภาพก็สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน ในการศึกษา และใช้ในการประกอบอาชีพในอนาคตได้
      คำสุภาพ  ถ้อยคำต่างๆที่เราพูดจากันโดยทั่วไปนั้น บางคำก็มิควรจะกราบบังคมทูลบางคำก็ควร ถ้าหากคำใดมิควรเราจำเป็นต้องเปลี่ยนแปลงเสียให้เหมาะสม การเปลี่ยนแปลงถ้อยคำต่างๆให้เหมาะสม การเปลี่ยนแปลงถ้อยคำต่างๆให้เหมาะสมนี่เราเรียกว่า คำสุภาพคำสุภาพเป็นส่วนหนึ่งของราชาศัพท์ ซึ่งมีลักษณะที่ควรสังเกตดังต่อไปนี้
    1. ไม่ควรใช้ถ้อยคำอุทานที่ไม่สุภาพ เช่น โว้ย เว้ย หรือคำสาบานที่หยาบคาย เช่น ให้ตายห่า ให้ฉิบหาย หรือพูดกระชากเสียง เช่น เปล่า ไม่ใช่ เป็นต้น
    2. ไม่ควรใช้คำที่ถือว่าหยาบคายคือ
         2.1. คำว่า ไอ้ควรใช้สิ่งแทนเช่น ไอ้นี่ได้นั้น ควรเป็นสิ่งนี้ สิ่งนั้นหรือตัดคำว่าไอ้ทิ้งเสียเลย เช่น ปลาไอ้บ้า เป็นปลาบ้า
         2.2. คำว่า อีควรใช้คำว่านางเช่น อีเห็น เป็นนางเห็น อีเลิ้ง เป็นนางเลิ้ง
         2.3. คำว่า     “ขี้ควรใช้คำว่า อุจจาระหรือ คูถแทนหรือบางที่ตัดออกเสียเลย ก็ได้ เช่น ดอกขี้เหล็ก เป็นดอกเหล็ก หรือเปลี่ยนเสียก็ได้ เช่น ขี้มูกเป็นน้ำมูก ขนมขี้หนู เป็นขนมทราย
        2.4. คำว่า เยียวควรใช้คำว่า ปัสสาวะหรือ มูตรแทน
    3.ไม่ควรใช้คำผวน  หรือใช้คำใดก็ตามเมื่อผวนหางเสียงหรือท้ายคำกลับมาไว้ข้างหน้าแล้ว คำนั้นจะเป็นคำที่ไม่สุภาพทันที เช่น คุณหมอจ๋า ผวนเป็นคุณหมาจ๋อ เป็นต้น
    ในเรื่อง คำหยาบและคำสุภาพนั้น ม.ล. ปีย์ มาลากุล ได้กล่าวไว้ในหนังสือ การใช้ถ้อยคำและราชาศัพท์ว่าเมื่อกล่าวถึง คำหยาบและคำ สุภาพนั้นความหมายที่แท้จริงของคำหยาบหาใช่หมายถึงเฉพาะคำโลนหรือคำที่ใช้ในการกล่าวผรุสวาจาเท่านั้นไม่ ที่ถูกแล้วน่าจะเรียกคำสามัญ และคำวิสามัญ มากกว่า เช่น คำว่ามือ ตีน กิน เดิน นอน ก็ไม่น่าจะเป็นคำหยาบอะไรแต่คำเหล่านี้ไปใช้พูดกับคนที่อาวุโสกว่าคำเหล่านั้นถือเป็นคำหยาบ ต้องเปลี่ยนใช้คำอื่น เช่น จะพูดว่า ตีนก็ต้องเปลี่ยนเป็น เท้าเป็นต้น

ข้อแนะนำ
       1) ควรมีแหล่งศึกษา โดยให้ศึกษาเกี่ยวกับคำสุภาพให้มากกว่านี้
       2) ควรหาคำสุภาพที่นิยมใช้ในปัจจุบัน
       3) ควรปลูกจิตสำนึกให้ประชาชนใช้คำสุภาพให้ถูกต้อง และเหมาะสม




บรรณานุกรม

ชัยวัฒน์  ศรีแก้ว. พจนานุกรม ฉบับนักเรียน –  นักศึกษา. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์รุ่งแสง การพิมพ์, 2556
วิเชียร  เกษประทุม. คู่มือภาษาไทย. นนทบุรี: โรงพิมพ์เพิ่มทรัพย์การพิมพ์, 2552
http://krupiyarerk.wordpress.com
http://guru.sanook.com
http://www.dutjai.de/WB002.html

14 ความคิดเห็น:

  1. ขวัญวิลัย : คำสุภาพ หมายความว่าอย่างไรและมีประโยชน์ต่อตัวเราหรือไม่จงอธิบาย

    ตอบลบ
    คำตอบ
    1. คำสุภาพ หมายถึง คำราชาศัพท์สำหรับชั้นสุภาพชน เป็นการเปลี่ยนถ้อยคำต่างๆ ให้เหมาะสมสำหรับสื่อสาร กับผู้ที่อาวุโสกว่า คำที่ได้ยินแล้วน่าฟัง ชวนฟังเป็นถ้อยคำที่เหมาะสม ลักษณะของคำสุภาพ เป็นคำที่ไม่เป็นคำหยาบไม่เป็นคำที่ได้ยินแล้วไม่น่าฟัง ไม่เป็นคำกระด้างไม่เป็นคำที่สั้นหรือห้วนไปเป็นคำที่พูดผวนแล้วไม่หยาบเป็นคำที่ไม่นิยมเปรียบกับของหยาบเป็นคำที่ยืมมาจากภาษาบาลี สันสกฤต และเขมร และเป็นคำที่เมื่อผู้พุดแล้วทำให้ผู้ฟังรู้สึกดี เพราะเป็นคำที่ไม่หยาบ ดังนั้นควรที่จะศึกษาเรื่องคำสุภาพไว้ เมื่อไปพูดกับบุคคลอื่นก็จะทำให้คำพูดเราน่าฟังและไม่หยาบคาย เพื่อให้ผู้ฟังรู้สึกดีเมื่อได้พุดกับเรา และคนที่พูดกับเราก็จะมองว่าเราเป็นคนที่ดี มีระเบียบ มีวินัย คำสุภาพก็สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน ในการศึกษาและใช้ในการประกอบอาชีพในอนาคตได้

      ลบ
  2. ชนัญชิดา : ลักษณะของคำสุภาพในความคิดของนักเรียนเป็นอย่างไร

    ตอบลบ
    คำตอบ
    1. ลักษณะของคำสุภาพ เป็นคำที่ไม่เป็นคำหยาบไม่เป็นคำที่ได้ยินแล้วไม่น่าฟัง ไม่เป็นคำกระด้างไม่เป็นคำที่สั้นหรือห้วนไปเป็นคำที่พูดผวนแล้วไม่หยาบเป็นคำที่ไม่นิยมเปรียบกับของหยาบเป็นคำที่ยืมมาจากภาษาบาลี สันสกฤต เขมร และเมื่อเราพูดทำให้ผู้ฟังรู้สึกดีเพราะเป็นคำสุภาพ

      ลบ
  3. เพ็ญศิริ : ในชีวิตประจำวันของนักเรียนนักเรียนคิดว่าการศึกษาเรื่องคำสุภาพมีข้อดีหรือไม่ดีอย่างไรจงอธิบาย

    ตอบลบ
    คำตอบ
    1. มีค่ะ เพราะคำสุภาพเป็นคำที่ควรนำมาพูด นำมาสื่อสารในชีวิตประจำวัน เพราะไม่เป็นคำหยาบคาย สามารถใช้ได้ในทุกโอกาสและทุกสถานการณ์ตามความเหมาะสม

      ลบ
  4. รัชนีกร : .ในชีวิตประจำวันของนักเรียนนักเรียนเคยได้ยินการพูดคุยหรือบทสนทนาอย่างไรที่เป็นคำไม่สุภาพและนักเรียนคิดว่าดีหรือไม่ดีอย่างไรจงอธิบาย

    ตอบลบ
    คำตอบ
    1. เคยค่ะ เช่นคำว่า ควาย ที่นำมาพูดหรือสนทนากันอยู่ในปัจจุบันนี้แท้จริงยังไม่เป็นคำสุภาพ ดิฉันคิดว่าเป็นคำไม่ดีไม่สุภาพ เพราะเป็นคำที่พูดแล้วไม่น่าฟัง ไม่สุภาพ คำว่าควาย ในคำสุภาพคือคำว่า กระบือ ค่ะ

      ลบ
  5. ศิริกานดา : ในชีวิตประจำวันของนักเรียนถ้านักเรียนพบเจอเพื่อน ๆ หรือคนอื่น ๆพุดคำไม่สุภาพในฐานะที่นักเรียนมีความรู้เรื่องนี้นักเรียนจะทำอย่างไร

    ตอบลบ
    คำตอบ
    1. ศิริการดา: ดิฉันจะเข้าไปบอก และเข้าไปตักเตือนเพื่อนๆคนที่พูดคำไม่สุภาพ ให้พูดคำที่สุภาพในสถานการณ์หรือบุคคลต่างๆตามความเหมาะสม พร้อมทั้งบอกเหตุผลว่าคำสุภาพเป็คำที่ไพเราะ เป็นคำที่สุภาพ ไม่หยาบคาย เมื่อนำไปพูดกับบุคคลอื่นแล้วทำให้เขารู้สึกดี เพราะเราใช้คำสุภาพพูดกับเขา และจะแนะนำความรู้เกี่ยวกับคำสุภาพให้เพื่อนๆ เพื่อนำไปใช้ประโยชน์ต่อในชีวิตประจำวันและในอนาคตได้

      ลบ
  6. อัจฉรา : .ในชีวิตประจำวันของนักเรียนนักเรียนเคยใช้คำไม่สุภาพหรือไม่เคยหรือไม่เคยดีหรือไม่ดีอย่างไรจงอธิบาย

    ตอบลบ
    คำตอบ
    1. 1. เคยค่ะ เพราะว่าเป็นคำที่พูดง่ายกว่าคำสุภาพ แต่ไม่ใช่คำที่หยาบคายค่ะ เช่น คำว่าผักบุ้ง คำสุภาพคือคำว่าผักทอดยอด ซึ่งเป็นคำยาวกว่าคำทั่วไปดิฉันจึงใช้คำว่าผักบุ้งค่ะ
      2. คิดว่า ไม่ค่อยดีเท่าไรค่ะ เพราะคำว่าผักบุ้ง ยังไม่ใช่คำสุภาพค่ะ

      ลบ
  7. ปานชนก : ทำไมนักเรียนจึงเลือกที่จะศึกษาเรื่องดีเพราะอะไรและได้อะไรจากการศึกษาเรื่องนี้

    ตอบลบ
    คำตอบ
    1. เพราะว่า เรื่องคำสุภาพเป็นเรื่องที่น่าสนใจ มีประโยชน์และสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ และเป็นเรื่องที่ดิฉันสนใจจะศึกษา จึงได้ศึกษาเรื่องนี้ไว้ และพอได้ศึกษาไปแล้วได้รับความรู้เกี่ยวกับความสำคัญของคำสุภาพ การใช้คำสุภาพ

      ลบ