วันพุธที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557

สุภาษิตและคำพังเพย ม.4/1

สำนวนสุภาษิตและคำพังเพย

โดย
นายอนันต์ แสงทับทิม
นายอนุชิต เจาะเหมาะ
นางสาวเจนจิรา พรมมา
นางสาวนันทิยาโกยรัมย์
นางสาวอัษณา วายโศก

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่4/1
เสนอ
อาจารย์ปัณพิชชา   บรรเลง
  
โรงเรียนตานีวิทยา
สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสุรินทร์ เขต 33


         รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาค้นคว้ารายวิชา  I30202 การสื่อสารและการนำเสนอ
                                                ( Communication and Presentation )
                                       ประจำภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556


                                                                        


บทที่1
บทนำ
         แนวคิดที่มาและความสำคัญ
                คำสุภาษิตและคำพังเพยเป็นคำที่มีมาตั้งแต่โบราณ ซึ่งมนุษย์ได้นำสุภาษิตและคำพังเพยนำมาใช้ในการให้ข้อคิดและแนวปฏิบัติรวมทั้งคติเตือนใจ ในด้านการอบรมสั่งสอน ซึ่งทำในสมัยนี้ทุกคนกลับมองข้ามคำสุภาษิตคำพังเพยไป จึงทำให้คำสุภาษิตคำพังเพยไม่ค่อยมีคนสนใจมากนัก ทางคณะผู้จัดทำได้เลิ่งเห็นถึงความสำคัญของเรื่องนี้เพื่อใช้ในการศึกษาค้นคว้าในเรื่องต่อไป

    วัตถุประสงค์
1.เพื่ออนุรักษ์สำนวนสุภาษิต คำพังเพยที่เป็นไทย
2.เพื่อเผยแพร่สำนวนสุภาษิตคำพังเพยแก่ผู้ที่สนใจ
3.เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสำนวนสุภาษิตคำพังเพย

      ระยะเวลาในการดำเนินการ
        รายงาน เรื่อง คำสุภาษิตคำพังเพย  ใช้ระยะเวลาในการศึกษาค้นคว้า ตั้งแต่
วันที่ 22 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 ถึงวันที่ 28 เดือน มกราคม พ.ศ.2557
สถานที่ดำเนินการ ได้แก่ โรงเรียนตานีวิทยา

ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.เกิดความสามัคคีภายในกลุ่ม
2.มีความรู้เกี่ยวกับสำนวนสุภาษิตคำพังเพย
3.มีความเข้าใจเกี่ยวกับการนำสำนวนสุภาษิตคำพังเพยมาใช้
4.ได้ฝึกทักษะในการวาดภาพประกอบสุภาษิตคำพังเพย













บทที่ 2
        รายงาน เรื่อง คำสุภาษิตและคำพังเพย ผู้จัดทำได้มีการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้อง
1.พจนานุกรมไทย
2.http:www.trueplookpanya.com
3.http:www.khonthai.com
         ตารางที่ 1 เรื่อง คำสุภาษิต
คำ
ความหมาย
1.คางคกขึ้นวอ
คนถ่อยหรือต่ำช้า
2.น้ำท่วมปาก
พูดไม่ออกบอกไม่ได้  เพราะมีความจำเป็นปีบบังคับ
3.ผงเข้าตา
มีเรื่องเดือดร้อนกับตน
4.อกไหม้ไส้ขม
ความทุกข์อย่างสาหัส
5.ผีซ้ำด้ามพลอย
คนแต่งเก่าๆ ขาดๆ แต่วิ่งรวยทรัพย์
6.ผ้าขี้ริ้วห่อทอง
มีโอกาสดีควรรีบทำ
7.น้ำขึ้นให้รีบตัก
มีโอกาสดีควรรีบทำ
8. .ใจปลาซิว
มีใจไม่อดทน ยอมแพ้อะไรง่ายๆ

ตารางที่ 2 เรื่องคำพังเพย
คำ
ความหมาย
1.ตีงูให้กากิน
ลงทุนทำในสิ่งที่ไม่เป็นคุณแก่ตนเองและอาจได้รับโทษ
2.วัวหายล้อมคอก
เมื่อเกิดความเสียหายแล้วจึงคิดหาทางป้องกัน
3.ตัดไฟต้นลม
ตัดต้นเหตุเพื่อไม่ให้เกิดเรื่องใหญ่
4.ยื่นหมู ยื่นแมว
ส่งสิ่งของแต่ละฝ่ายแลกเปลี่ยนพร้อมๆกันในเวลาเดียวกัน
5.ข้างนอกสุกใส ข้างในเป็นโพรง
ข้างนอกอาจดูดีมีค่าแต่ข้างในหรือความเป็นจริงแล้วมิได้ตามที่เห็น
6.กาคาบพริก
คนดำแต่งตัวเสื้อผ้าสีแดง
7.น้ำกลิ่งใบบอน
ใจโลเลใจไม่แน่นอนเปลี่ยนไปเรื่อยๆ
8. .อดเปรี้ยวไว้กินหวาน
ค่อยทำค่อยไปแล้วจะได้ผลดี










บทที่ 3
วิธีการดำเนินการ
รายงาน เรื่อง สุภาษิตคำพังเพย  ผู้จัดทำได้ดำเนินการดังนี้
     วิธีดำเนินการ
รายงาน เรื่อง สุภาษิตคำพังเพย มีวิธีการดำเนินการศึกษาค้นคว้าดังนี้
1.ผู้ศึกษานำเสนอหัวข้อรายงานต่ออาจารย์ที่ปรึกษาเพื่อขอคำแนะนำและกำหนดขอบเขตในการทำ
2.ผู้ศึกษาร่วมกับประชุมวางแผนวิเคราะห์ตามหัวข้อวัตถุประสงค์ของรายงาน
3.ศึกษาร่วมค้นคว้าจากหนังสือต่างๆ ดังนี้ หนังสือเรียน หนังสือพิมพ์ และสื่อต่างๆ และจากอินเตอร์เน็ต
4.ศึกษาและรวบรวมข้อมูลเป็นขั้นตอนของการเก็บรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับรายงานเพื่อมาวิเคราะห์และสรุปเนื้อหาที่สำคัญที่จะนำมาจัดทำรายงาน
5.นำเสนอผลงานต่ออาจารย์ที่ปรึกษาเพื่อรายงานผลการดำเนินการ
6.จัดทำคู่มือเพื่อใช้สำหรับศึกษาและรายงานต่ออาจารย์ที่ปรึกษา





บทที่ 4
ผลการดำเนินการ
รายงานเรื่อง สุภาษิตและคำพังเพย มีผลการดำเนินการ ดังนี้
       ผลการศึกษาค้นคว้า
     สุภาษิต คือ คำพูดที่ถือเป็นคติ มีความซึ้งใช้สั่งสอนถือเป็นการวางแผนและแสดงค่านิยมของมนุษย์มาแต่โบราณกาล เช่น สุภาษิตหญิง สุภาษิตพระร่วง ก็มีข้อความสั่งสอนที่ค่านิยมของสมัยนั้นๆ ไว้อย่างชดเจน เช่น
1.ใจปลาซิว หมายถึง มีใจไม่อดทน ยอมแพ้อะไรง่ายๆ
2.คางคกขึ้นวอ หมายถึง คนถ่อยหรือต่ำช้า
3.ผงเข้าตา หมายถึง มีเรื่องเดือดร้อนเกิดกับตน
4.อกไหมไส้ขม หมายถึง ความทุกข์อย่างแสนสาหัส
5.ผีซ้ำด้ามพลอย หมายถึง เมื่อตกอับหรือเคราะห์ร้าย
6.น้ำขึ้นให้รีบตัก หมายถึง มีโอกาสดีควรรีบทำ
7.เอาหูไปนาเอาตาไปไร่ หมายถึง ทำไม่รู้ไม่เห็น
8.อดเปรี้ยวไว้กินหวาน หมายถึง ค่อยทำค่อยไปแล้วจะได้ผลดี
9.อกสั้นขวัญแขวน หมายถึง ตกใจขนาดหนัก
10.อ้อยเข้าปากช้าง หมายถึง สิ่งตกอยู่ในมือใครแล้วจะได้คือ

      คำพังเพย คือ เป็นคำเปรียบเทียบเรื่องต่างๆ เนื้อใช้ติชม ซึ้งสะท้อน ถึงความคิด ความเชื่อถือและค่านิยม อันเป็นลักษณะของคนไทย เช่น ค่านิยมในการยกย่องผู้อาวุโส เคารพครูบาอาบาอาจารย์และนิยมสุภาอ่อนโยน เช่น
1.กาคาพริก หมายถึง คนผิวดำแต่แต่งตัวด้วยเสื้อผ้าแดง
2.ตัดไฟต้นลม หมายถึง ตัดต้นเหตุเพื่อไม่ให้เกิดเรื่องใหญ่ขึ้น
3.วัวหายล้อมคอก หมายถึง เมื่อเกิดความเสียหายแล้ว จึงคิดหาทางป้องกัน
4.ฝนทั้งให้เป็นขม หมายถึง ความเพียรพยายามทำให้ประสบความสำเร็จ
5.ปากราศรัย หมายถึง พูดดีแต่ปาก
6.น้ำกลิ่งใบบอน หมายถึง ใจโลเล ใจไม่แน่นอน เปลี่ยนไปเรื่อยๆ
7.ข้างนอกสุกใส ข้างในเป็นโพรง หมายถึง ข้างนอกพูดดี มีค่า แต่ข้างในหรือตามความเป็น                         ความจริงแล้ว มิได้ดีตามที่เห็น
8.ปลาใหญ่กินปลาเล็ก หมายถึง ผู้มีอำนาจมากกว่ากดขี่ขมเหงผู้ที่อ่อนแอกว่า
9.อย่าเห็นขี้ดีกว่าไส้ หมายถึง อย่าเห็นคนอื่นดีกว่าญาติพี่น้องลูกหลานของตน
10.ตีงูให้กากิน หมายถึง ลงทุนในสิ่งที่ไม่เป็นคนแต่ตนและและอาจได้รับโทษ





บทที่ 5
         สรุป  อภิปรายรายงานผลงานและข้อเสนนอแนะ
รายงาน เรื่อง สุภาษิตและคำพังเพย สามารถสรุปและอภิปรายผลการดำเนินการ
            สรุป
               การจัดทำนายงานเรื่อง สุภาษิตและคำพังเพย สามารถสรุปได้ดังนี้
  จากการที่คณะที่คณะผู้จัดทำได้มีความสนใจศึกษาสำนวนสุภาษิตคำพังเพยตามวัตถุประสงค์คือเพื่อให้ให้เกิดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสำนวน สุภาษิต คำพังเพย โดยแบ่งตามลำดับอักษรพยัญชนะไทยเนื่องจากสุภาษิตคำพังเพยจากบทประพันธ์ วรรณคดีสื่อต่างๆ ได้แก่ หนังสือสำนวน  สุภาษิต คำพังเพยหนังสือคำคมสุภาษิตสอนผู้หญิงชาย ซึ่งพบว่า สำนวนสุภาษิตคำพังเพยมี จำนวนมากซึ่งถ่ายทอดกันมาตั้งแต่สมัยโบราณที่ใช้สั่งสอนอบรมบุตนหลานให้มีคุณธรรมซึ่งในปัจจุบันก็ยังมีการนำสำนวน สุภาษิตคำพังเพย มาใช้ชีวิตประจำวันซึ่งเราได้ยินอยู่บ้างในปัจจุบันก็บัง มีการนำ สำนวนสุภาษิต คำพังเพย มาใช้ในชีวิตประจำวันซึ่งเราได้ยินอยู่ข้างในปัจจุบันเพื่อให้ประชาชนประพฤติปฏิบัติมีคุณธรรมและสามารถอยู่ร่วมกันได้ในสังคมอย่างสงบสุข

           อภิปรายผล
การจัดทำรายงาน เรื่อง คำสุภาษิตและคำพังเพย  สามารถอภิปรายผลได้ ดังนี้
การวางแนวและแสดงคำนิยมของสมัยโบราณ เช่น คำว่า น้ำพึ่งเรือเสือพึ่งป่า
         สุภาษิต หมายถึง เป็นคำเปรียบเทียบเรื่องต่างๆ เพื่อใช้ติชมสะท้อนถึงความเชื่อถือ และค่านิยม อันเป็นลักษณะของคนไทยเช่น คำว่า บ้านเคยอยู่ อู่เคยนอน
         คำพังเพย หมายถึง ถ้อยคำที่เปรียบเทียบขึ้นโดยมีความหายพิเศษ ไม่ตรงกับความหมายตามปกติทั้งนี้อาจจะเป็นคำที่มีความหมายโดยนัย หรือความหมายในเชิงเปรียบเทียบ เช่นคำว่า กินบนเรือ ขี้บนหลังคา

                      ประโยชน์
     การจัดรายงาน เรื่อง สุภาษิตและคำพังเพย มีข้อเสนอแนะดังนี้
1.เกิดความสามัคคีในกลุ่ม
2.มีความรู้เกี่ยวกับสำนวนสุภาษิตคำพังเพย
3.มีความเข้าใจเกี่ยวกับสุภาษิตคำพังเพยมาใช้
4.ได้ฝึกทักษะในการวาดภาพประกอบสุภาษิตคำพังเพย
           ข้อเสนอแนะ
      จากการศึกษาสำนวนสุภาษิตคำพังเพยผู้ศึกษามี ผู้ศึกษามีข้อเสนอแนะเกี่ยวกับรายงาน
1.เนื่องจากเนื้อหาของสำนวนสุภาษิตคำพังเพยอาจมีจำนวนมากในการศึกษาครั้งนี้ผู้ศึกษาอาจยกเนื้อหาของจำนวนสุภาษิตคำพังเพย
2.ควรมีการจัดทำเป็นหนังสืออิเล็กทรอนนิกส์เผยแพร่ทางเว็บไซต์ในโอกาสต่อไปนี้
3.นำผลจากการศึกษาสำนวนสุภาษิตคำพังเพยไปสร้างเป็นสื่อในรูปแบบต่างๆ เช่น นิทาน เรื่องสั้น บทละคร เป็นต้น เพื่อให้เหมาะกับผู้รับสาร




บรรณานุกรม
 กลุ่มพุทธบุตรเพื่อพัฒนาเยาวชน(๒๕๓๘)วัดศรีบุญเรืองคู่มือพระวิทยากร.  กรุงเทพมหานคร :
          ๒๕๓๘.
ชนม์สวัสดิ์     ชมพูนุช.  สุภาษิตคำพังเพยและคติเตือนใจ.  กรุงเทพมหานคร  :  สำนักพิมพ์
พิทยาคาร,  ๒๕๑๒.
ติช  นัท  ฮันห์ (พระประชา  ปสนฺนจิตฺโต  แปล).  ปาฏิหาริย์แห่งการตื่นอยู่เสมอ.  พิมพ์ครั้งที่ 
          ๑๕,  กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์โกมลคีมทอง,  ๒๕๔๗.
ทินวัฒน์   มฤคพิทักษ์.  พูดได้  พูดเป็น. กรุงเทพมหานคร  :  โอ.เอส.พริ้นติ้ง  เฮ้าส์,  ....
ทองสุข   มันตาทร.  บันเทิงธรรมะ. กรุงเทพมหานคร  :  บริษัทเพ็ญพริ้นติ้ง  จำกัด,  ๒๕๔๖.
ธรรมโฆษ.  ธรรมหรรษา. พิมพ์ครั้งที่ ๒,  กรุงเทพมหานคร  :  โรงพิมพ์แสงดาว,  ๒๕๓๗.
บุญศักดิ์   แสงระวี.  สายธารแห่งปัญญา.  กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์สุขภาพใจ,  ๒๕๔๗.
พจนา   จันทรสันติ (แปล).  ดอกไม้ไม่จำนรรจ์.  พิมพ์ครั้งที่ ๒, กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์
          สมิต,  ๒๕๒๖.
พระพิศาลธรรมพาที (พยอม   กัลยาโณ).  เทศนาฮาสุดขีด ๔. กรุงเทพมหานคร  : โปร – วิชั่น 
เอนเตอร์เทนเมนท์  จำกัด,  ๒๕๔๓.
พระพิจิตรธรรมพาที (ชัยวัฒน์  ธัมมวัฑฒโน)  กวีพจน์รสธรรมกรุงเทพมหานคร  :  โรงพิมพ์
เลี่ยงเชียง,  ๒๕๓๙.
-----------------. เทศนาวาไรตี้.  กรุงเทพมหานคร :  โรงพิมพ์เลี่ยงเชียง,  ๒๕๓๙.
พระมหาวีรวชรษิ์  วชิรเมธี.  สะเก็ดเพชรเล่ม ๑ – .  กรุงเทพมหานคร  : วิมุตยาราม    กราฟ
ฟิค  จำกัด,  ๒๕๔๓.
โย่ง   เชิญยิ้ม (รวบรวมโดย สมคิด   ลวางกูร). ขำสุดขีด.  กรุงเทพมหานคร : บริษัทโปร – วิชั่น 
          เอนเตอร์เทนเมนต์  จำกัด,  ๒๕๔๖.
รัถยา   สารธรรม (แปล).  มังกรสอนลูก. พิมพ์ครั้งที่ ๗,  กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์ธรรมชาติ,
          ๒๕๔๔.
ละเอียด   ศิลาน้อย (แปล).  ประตูที่ไร้ประตู. พิมพ์ครั้งที่ ๒,  กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์สมิต
          ๒๕๓๗.
-----------------. ปล่อยวางอย่างเซน.  พิมพ์ครั้งที่ ๒๐,  กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์ดอกหญ้า
          ๒๐๐๐,  ๒๕๔๓.
วชิรเมธี.  ปรัชญาหน้ากุฏิ. กรุงเทพมหานคร  :  สำนักพิมพ์ดอกหญ้า ๒๐๐๐,  ๒๕๔๕.
สมชาติ   กิจยรรยง.  ๑๐๘ เกมและกิจกรรมเพื่อพัฒนาบุคลากร. กรุงเทพมหานคร  :  บริษัท
ซีเอ็ดยูเคชั่น  จำกัด (มหาชน),  ๒๕๓๙.
-----------------. เกมและกิจกรรมผสมผสาน  เพื่อการพัฒนาบุคลากร.           พิมพ์ครั้งที่ ๒,
กรุงเทพมหานคร  :  ธีระป้อมวรรณกรรม,  ๒๕๔๕.
สมคิด   อิสระวัฒน์.   ก้าวแรกสู่การเป็นวิทยากร.    กรุงเทพมหานคร  : สำนักพิมพ์บุ๊คแบงก์., 
๒๕๔๒.
เงินยวง.  คำคม คารมรัก.  พิมพ์ครั้งที่ ๕,  กรุงเทพมหานคร : เกรียงศักดิ์การพิมพ์,  ๒๕๒๕.
สุวิทย์     มูลคำครบเครื่องเรื่องวิทยากรเล่ม๑.   พิมพ์ครั้งที่ ๔,  กรุงเทพมหานคร  : หจกภาพ
พิมพ์,  ๒๕๔๒.
-----------------. ครบเครื่องเรื่องวิทยากรเล่ม ๒กรุงเทพมหานคร  : หจกภาพพิมพ์,  ๒๕๔๒.
-----------------. ครบเครื่องเรื่องวิทยากรเล่ม ๓กรุงเทพมหานคร  : หจกภาพพิมพ์,  ๒๕๔๕.
-----------------. ชวนครูฮา  พานักเรียนเฮกรุงเทพมหานคร  : หจกภาพพิมพ์,  ๒๕๔๔.
-----------------. หักมุมฮานานาสาระ. กรุงเทพมหานคร  : หจกภาพพิมพ์,  ๒๕๔๖.
สุริยฉัตร   ชัยมงคล (แปล). ส่องชีวิตด้วยข้อคิดจีน. พิมพ์ครั้งที่ ๒, กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์
          ดอกหญ้า,  ๒๕๓๖.
เสฐียรพงษ์   วรรณปก. เนื้อติดกระดูก.  พิมพ์ครั้งที่ ๑๐,  กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์มติชน
          ๒๕๔๗.

6 ความคิดเห็น:

  1. อนันต์ : สุภาษิตและคำพังเพยมีความแตกต่างกันอย่างไรจงอธิบาย

    ตอบลบ
  2. อนุชิต : ในชีวิตประจำวันของนักเรียนได้ยินสำนวนสุภาษิตคำพังเพยคำใดมากที่สุดจงยกตัวอย่างคำที่ได้ยินและความหมาย

    ตอบลบ
  3. เจนจิรา : ทำไมนักเรียนจึงเลือกที่จะศึกษาเรื่องนี้เพราะอะไรและได้รับอะไรบ้างจากการศึกษาเรื่องนี้

    ตอบลบ
  4. นันทิยา : จากการศึกษาเรื่องนี้นักเรียนพบข้อดีข้อเสียของการศึกษาเรื่องนี้อย่างไรบ้างจงอธิบาย

    ตอบลบ
  5. อัษณา : ให้นักเรียนแต่งบทสนทนาที่มีสำนวนสุภาษิตคำพังเพยแทรกอยู่ในบทสนทนาอย่างน้อย 2 คำ

    ตอบลบ
    คำตอบ
    1. ลูก : แม่ หนูอยากได้โทรศัพท์ใหม่
      แม่ : ทำไมล่ะลูก โทรศัพท์อันนี้ก็ยังใช้ได้อยู่นะ
      ลูก : เพื่อนหนูเขาได้เครื่องใหม่ หนูอยากได้บ้าง
      แม่ : ลูกอย่า“เห็นช้างขี้ ขี้ตามช้าง”
      ลูก : คืออะไรหรอค่ะ?
      แม่ : หมายถึง การกระทำตนเยี่ยงผู้อื่นที่มีฐานะและความพร้อมมากกว่าเรา โดยที่ไม่ได้คำนึงความสามารถทางการเงินหรือกำลังทรัพย์ของตนเอง โทรศัพท์เครื่องนี้ยังใช่ได้อยู่ ใช้ไปก่อนนะลูก เมื่อไรที่เครื่องนี้ใช้ไมได้จริงๆ และแม่มีเงิน แม่จะซื้อให้ใหม่นะ
      ลูก : ค่ะแม่

      ลบ